Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/396
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sarayut Rak-archa | en |
dc.contributor | ศรายุทธ รักอาชา | th |
dc.contributor.advisor | Piyaporn Saensouk | en |
dc.contributor.advisor | ปิยะพร แสนสุข | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Science | en |
dc.date.accessioned | 2019-11-19T07:48:51Z | - |
dc.date.available | 2019-11-19T07:48:51Z | - |
dc.date.issued | 5/11/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/396 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | A taxonomic revision of Dilleniaceae in Thailand is presented. Twenty species, three genera from two subfamilies were reported in Thailand. Subfamily Delimoideae consist 5 species of Tetracera. Subfamily Dillenioideae consist 14 species of Dillenia and 1 species of Acrotrema. Two species are ornamental plants in many places, including Dillenia philippinensis and D. suffruticosa. Tetracera akara is a new record for Thailand. Dillenia philippinensis, D. puchella and D. reticulata were descripted for the first time base on Thai specimen. D. grandifolia and D. reticulata may be are a single species by D. reticulata may be a synonym of D. grandifolia. In addition, key to species, description, ecological information, vernacular name and data of distribution are provided in this report. Pollen morphology of Dilleniaceae are monad, radially symmetrical, and isopolar. Most of the species of Thai Dilleniaceae are triaperture while Dillenia philippinensis and D. ovata are triaperture or occasionally tetraaperture. The elongated aperture covered with large irregular flecks. Most of the studied species have small sized except D. aurea and D. philippinensis that have medium sized. The exine sculpturing are punctate, reticulate, regulate, and reticulate-verrucose. In addition, this study reported characters of pollen morphology for the first time as follow: distance between the apices of two ectocolpi, colpus length, colpus width, porus length and porus width. The anatomy of leaves were observed by epidermal peeling and transverse section. The present study suggests that detailed analysis of anatomy of leaf surface, leaf lamina, leaf margin, midrib and petiole. The data is extremely important for understanding the taxa. The characters of leaf anatomy are basic characteristic in the Dilleniaceae as follows: 1) the one layer epidermal cells and thin cuticle on both surfaces; 2) the hypostomatic leaves with anisocytic, anomocytic and paracytic stomata; 3) the presence of stomata on abaxial surface; 4) the present of simple unicellular trichomes; 5) the bundle sheath extensions which extends to both epidermises; 6) the mesophyll is dorsiventral; 7) the presence of raphides crystals; 8) leaf margin are round in outline and 9) The vascular bundles are collateral bundle. The result show that the type and distribution of trichomes, type of stomata, shape of epidermal cells, vascular tissue systems, shape of petioles and shape of midrib can be used for identified to species of Thai Dilleniaceae. In numerical analysis base on pollen morphology and leaf anatomy data support classification and relationship of infrafamilial. The results show that genera Dillenia and Acrotrema were placed in the same group (Dillenioideae) and classified the genus Tetracera in another group (Delimoideae) follow as classification system of Horn in 2005. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาทบทวนอนุกรมวิธานพืชวงศ์ส้านในประเทศไทย พบทั้งสิ้น 20 ชนิด 3 สกุล 2 วงศ์ย่อย ได้แก่ วงศ์ย่อย Delimoideae ประกอบด้วย 5 ชนิดของสกุล Tetracera วงศ์ย่อย Dillenioideae ประกอบด้วย 14 ชนิดของสกุล Dillenia และ 1 ชนิดของสกุล Acrotrema ในจำนวนนี้เป็นไม้ที่นำเข้ามาปลูกเป็นไม้ประดับจำนวน 2 ชนิด ได้แก่ Dillenia suffruticosa และ D. philippinensis พบพืชชนิดใหม่ของประเทศไทยจำนวน 1 ชนิด คือ Tetracera akara บรรยายลักษณะพืชโดยใช้ตัวอย่างที่พบในประเทศไทยเป็นครั้งแรก จำนวน 3 ชนิด คือ Dillenia philippinensis, D. puchella และ D. reticulata จากการศึกษาตัวอย่างต้นแบบของพืชวงศ์ส้าน พบว่า D. grandiforia และ D. reticulata เป็นพืชชนิดเดี่ยวกันโดย D. reticulata อาจจะถูกยุบเป็นชื่อพ้องของ D. grandiforia นอกจากนี้ได้สร้างรูปวิธานในการระบุสกุล และชนิด ที่พบในประเทศไทย บรรยายลักษณะพืช บันทึกข้อมูลทางด้านนิเวศวิทยา ชื้อพื้นเมือง และข้อมูลการกระจายพรรณ ละอองเรณูของพืชวงศ์ส้านเป็นเม็ดเดี่ยว สมมาตรแบบรัศมี มีขั้วแบบ isopolar มี 3 ช่องเปิดยาว ยกเว้น Dillenia philippinensis และ D. ovata ที่มีทั้ง 3 ช่องเปิด และ 4 ช่องเปิดในตัวอย่างเพียงดอกเดี่ยว ช่องเปิดถูกปกคลุมด้วยชั้นผิวที่ขรุขระ ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก ยกเว้น Dillenia aurea และ D. philippinensis ที่มีขนาดกลาง ลวดลายบนผนังชั้นเอกซีนเป็นแบบ punctate, reticulate, regulate และ reticulate-verrucose นอกจากนี้ในการศึกษาครั้งนี้ได้รายงานลักษณะสัณฐานวิทยาของละอองเรณูเป็นครั้ง ได้แก่ ระยะห่างระหว่างช่องเปิด ความยาวของช่องเปิด ความกว้างของช่องเปิด ความยาวของรูช่องเปิดในสกุล Tetracera และความกว้างของรูช่องเปิดในสกุล Tetracera ศึกษากายวิภาคเปรียบเทียบของใบ ซึ่งประกอบด้วย แผ่นใบ ขอบใบ เส้นกลางใบ และ ก้านใบของพืชวงศ์ส้านในประเทศไทย โดยวิธีลอกผิวใบใบและตัดตามขวางแผ่นใบ พบว่าลักษณะพื้นฐานทางกายวิภาคศาสตร์ใบของพืชวงศ์ส้านประกอบด้วย 1) เนื้อเยื่องชั้นผิว 1 ชั้น และมีคิวตินเคลือบทั้งผิวใบด้านบนและผิวใบด้านล่าง 2) ปากใบจะพบเฉพาะผิวใบด้านล่าง ประกอบไปด้วยปากใบแบบ มีเซลล์ประกบเซลล์คลุม 3 เชลล์ ไม่มีเซลล์ประกบเซลล์คลุม และ มีเซลล์ประกบเซลล์คลุม 2 เซลล์ 3) พบปากใบเฉพาะผิวใบด้านล่าง 4) พบขนเซลล์เดี่ยว 5) พบเนื้อเยื่อหุ้มมัดท่อลำเลียงขยายออก 6) เนื้อเยื่อชั้นมีโซฟิลแยกเป็นสปองจีและพาลิเสดอย่างชัดเจน 7) พบสารสะสมประเภท raphides crystals 8) ขอบใบโค้งมน และ 9) มัดท่อลำเลียงเป็นแบบเตียงข้าง จากการศึกษาในครั้งนี้พบชนิดของขน การกระจายของขน ชนิดของปากใบ ระบบมัดท่อลำเลียง รูปร่างของก้านใบ รูปร่างของเส้นกลางใบของพืชวงศ์ส้านในประเทศไทยสามารถนำมาสร้างรูปวิธานในการระบุชนิดได้ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิค PCA และ Cluster จากข้อมูลของสัณฐานวิทยาเรณูและกายวิภาคศาสตร์สามารถยืนยันความสัมพันธ์ของพืชวงศ์ทั้ง 3 สกุลได้เป็นอย่างดี จากการศึกษาสามารถจัดพืชในสกุล Acrotrema และ Dillenia ไว้ในกลุ่มเดียวกันคือ วงศ์ย่อย Dillenioideae และจัดสกุล Tetracera ไว้ในวงศ์ย่อย Delimoideae ตามระบบของการจัดจำแนกของ Horn ในปี 2005 | th |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | กายวิภาคศาสตร์ | th |
dc.subject | พืชวงศ์ส้าน | th |
dc.subject | สัณฐานวิทยาเรณู | th |
dc.subject | อนุกรมวิธาน | th |
dc.subject | Anatomy | en |
dc.subject | Dilleniaceae | en |
dc.subject | Pollen morphology | en |
dc.subject | Taxonomy | en |
dc.subject.classification | Agricultural and Biological Sciences | en |
dc.title | Taxonomic Revision of the Family Dilleniaceae in Thailand | en |
dc.title | การทบทวนอนุกรมวิธานพืชวงศ์ส้านในประเทศไทย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56010261501.pdf | 14.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.