Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/410
Title: | Chess Algorithm Optimization Technique เทคนิคขั้นตอนวิธีการหาค่าเหมาะที่สุดด้วยวิธีหมากรุก |
Authors: | Kanawut Pothiya คณาวุฒิ โพธิยา Worawat Sa-ngiamvibool วรวัฒน์ เสงี่ยมวิบูล Mahasarakham University. The Faculty of Engineering |
Keywords: | ระบบรักษาระดับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ วิธีหมากรุก ฟังก์ชั่นคณิตศาสตร์ ปัญหาการหาค่าเหมาะที่สุด ตัวควบคุมพีไอดี Automatic Voltage Regulator system Chess Algorithm Mathematical functions Optimization technique PID Controller |
Issue Date: | 13 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This thesis proposes a new optimization technique based on Chess game, called “Chess Algorithm; CA). The proposed approach had many good features such as easy implementation, stable convergence characteristic, good computational efficiency and high-quality solution. In order to assist the performance of the proposed technique, the optimization solving problems of mathematical functions and optimal tuning the parameters of PID controller for Automatic Voltage Regulator system (AVR) have been performed. Furthermore, the tested results are compared with other optimization techniques i.e. Genetic Algorithm (GA), Particle Swarm Optimization (PSO) and Bee Algorithm (BA) under many time-domain performance criterion functions. The simulation results shown the proposed technique is indeed more efficiency and stability than other techniques. วิทยานิพนธ์นี้ นำเสนอขั้นตอนวิธีการหาค่าเหมาะที่สุดแบบใหม่ ได้แนวคิดมาจาก เกมส์หมากรุกสากล เรียกว่า วิธีหมากรุก (Chess Algorithm ; CA) วิธีการที่นำเสนอนี้ มีคุณลักษณะที่ดีหลายประการ คือ ง่ายต่อการดำเนินการ คุณลักษณะการลู่เข้าสู่คำตอบที่คงตัว มีประสิทธิภาพการประมวลผลที่ดี และได้คำตอบที่มีคุณภาพสูง เพื่อที่จะประเมินคุณภาพของวิธีการนี้ ได้ทำการทดสอบกับปัญหาการหาค่าที่เหมาะสมของฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ต่างๆ และปัญหาการปรับค่าพารามิเตอร์ของตัวควบคุมพีไอดีสำหรับระบบรักษาระดับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ พร้อมทั้งเปรียบเทียบผลการทดสอบกับวิธีการหาค่าเหมาะที่สุดวิธีการอื่น อย่างเช่น วิธีเชิงพันธุกรรม วิธีกลุ่มอนุภาค และวิธีฝูงผึ้ง โดยใช้เกณฑ์ด้านสมรรถนะ (Performance Criteria) หลายแบบ ผลการทดสอบ แสดงให้เห็นว่า วิธีการที่นำเสนอนี้ มีประสิทธิภาพ และเสถียรภาพในการค้นหาคำตอบดีกว่าวิธีการอื่นๆ ที่นำมาทดสอบ |
Description: | Master of Engineering (M.Eng.) วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/410 |
Appears in Collections: | The Faculty of Engineering |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010352001.pdf | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.