Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/428
Title: The Development of Online-mediated Training Strategy for Promoting University  Lecturers’s Competency on Courseware Development : Khon Kaen University
การพัฒนากลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Authors: Samart Singma
สามารถ สิงห์มา
Chaiyot Ruangsuwan
ไชยยศ เรืองสุวรรณ
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: กลยุทธ์
ฝึกอบรมออนไลน์
ฝึกอบรม
สมรรถนะ
คอร์สแวร์
strategy
e-training
capacity
Courseware
Issue Date:  17
Publisher: Mahasarakham University
Abstract:   The purposes of research are 1) To study the present condition and the requirement condition about the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development : Khon Kaen university. 2) To develop the strategy of the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development : Khon Kaen university. 3) To study about the result of the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development : Khon Kaen university, which is related to 3 steps of research process and development; the first step is the study of the present condition, the problem, and the requirement condition about the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development : Khon Kaen university by studying from the document and the questionnaire about the present condition and the requirement condition  which are related to the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development : Khon Kaen university. The second step is the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development : Khon Kaen university. The lecturers are interviewed by 9 experts with deep interview. The third step is studying the result of the development of online-mediated training strategy for promoting university lecturers’s competency on courseware development which there are 20 lecturers who have attended in this research activity; moreover, the study is about studying in comparing the result of the competency before and after online-mediated training and studying about the lecturers’s satisfaction in online-mediated training. Finally, the result of the research is found that. 1) The condition and the result which are from the attendants’ questionnaire have been presented that there are 338 attendants, which contains of 136 men and 202 women. The average age of the attendants is 40.36 years old. The attendants have joined the training about 4-5 hours. The consideration criterion which is used for considering the lecturers depends on their faculty. It is found that the lowest number of the attendants is the lecturers from Technology Science faculty which contains of 97 lecturers (28.70%).  The number of the lecturers from Humanities and Social Sciences faculty at the median average which contains of 110 lecturers (32.54%). The highest average of the attendants is the lecturers from Health Science faculty which contains of 131 people (38.76%) It is found that the problem of this training is the training has effect to the lecturers’ works in their teaching which the average is highest about 4.59. Next, it is the problem about the lecturers’ dissatisfaction in joining the training and the average is 4.50 which at the high level. Next, it is the problem about it is expected that everybody must understand the lesson in training and the average at high level which is 4.43. According to the data about the condition of requirement in online-mediated training is found that the requirement level of the courseware development at the highest level which is 5.41. Next, the requirement level of the video development at the highest average which is 4.78. Next, the requirement level of the training according to the lecturers’ competency at the high average which is 4.69. 2)  The strategy which is developed by environment analyzing (SWOT Analysis) and TOWS Matrix, the result of the evaluation about online-mediated training strategy is appropriate, possible, accurate, included, and useful for working, totally; every part at the high level. 3) The lecturers who have joined the online-mediated training have better capacity about courseware development in every skill are in the high level a significance level of 0.05. Which increases more than the previous time before the training which at the low level to the median level. Moreover, the lecturers’ requirement about the online-mediated training at the highest level.
การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และสภาพพึงประสงค์เกี่ยวกับกลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น  2) พัฒนากลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 3) ศึกษาผลกลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งดำเนินการด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนา 3 ระยะ  คือ  ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา  และสภาพพึงประสงค์เกี่ยวกับกลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน ปัญหา และสภาพพึงประสงค์ เกี่ยวกับกลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะที่ 2 การพัฒนากลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน  ระยะที่ 3 ศึกษาผลกลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่สมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จำนวน  20 คน โดยศึกษาผลเปรียบเทียบสมรรถนะ ก่อนและหลังการฝึกอบรมออนไลน์ และและศึกษาความพึงพอใจการฝึกอบรมออนไลน์  ผลการวิจัยพบว่า  1) สถานภาพและภาระงานของผู้ตอบแบบสอบถาม ในภาพรวม พบว่า จำนวนผู้ให้ข้อมูลรวม 338 คน ซึ่งเป็นชาย 136 คน เป็นหญิง 202 คน อายุเฉลี่ย 40.36 ปี  จำนวนชั่วโมงที่สอนต่อวันเฉลี่ย 4-5 ชั่วโมง  เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาขาวิชา พบว่ากลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นอาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 97 คน มีจำนวนน้อยที่สุด (28.70%)  ส่วนกลุ่มผู้ให้ข้อมูลมากขึ้นมาคือสาขามนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ คือ 110 คน (32.54%)  กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมากสุดคือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 131 คน (38.76%) มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ด้านปัญหาเกี่ยวกับการฝึกอบรมจากข้อมูลพบว่า ระดับปัญหาจากการฝึกอบรมที่กระทบต่อการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยรวมสูงสุด (4.59) ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือระดับปัญหาจากการฝึกอบรมที่ไม่พึงประสงค์ มีค่าเฉลี่ยรวม (4.50) ในระดับมาก และระดับปัญหาจากการฝึกอบรมที่ต้องการให้ทุกคนเรียนรู้ให้ทันคนอื่น มีค่าเฉลี่ยรวม (4.43) ในระดับมาก ตามลำดับ ด้านสภาพพึงประสงค์การฝึกอบรมออนไลน์จากข้อมูลพบว่า ระดับความต้องการต่อการพัฒนาสื่อประเภท คอร์สแวร์ ค่าเฉลี่ยรวมสูงสุด (5.41) ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือระดับความต้องการต่อการพัฒนาสื่อประเภท วิดีโอ มีค่าเฉลี่ยรวม (4.78) ในระดับมากที่สุด และระดับความต้องการต่อการฝึกอบรมที่เรียนรู้ได้ตามความสามารถและศักยภาพของแต่ละบุคคล มีค่าเฉลี่ยรวม (4.69) ในระดับมาก  2) กลยุทธ์ที่พัฒนาขึ้น ด้วยวิธีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) และ TOWS Matrix ผลการประเมินกลยุทธ์การฝึกอบรมออนไลน์ มีความเหมาะสม มีความเป็นไปได้ มีความถูกต้อง ครอบคลุม และมีประโยชน์การใช้งาน โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก 3) อาจารย์ที่ผ่านการฝึกอบรมตามกลยุทธ์ที่พัฒนาขึ้นมีสมรรถนะการพัฒนาคอร์สแวร์ในด้านการวิเคราะห์ ด้านการออกแบบ ด้านการพัฒนา ด้านการนำไปใช้ และด้านประเมินผล  เพิ่มขึ้น เป็นระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมออนไลน์อยู่ในระดับมากที่สุด 
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/428
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56010562005.pdf5.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.