Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/437
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suchinnawat Yangsuk | en |
dc.contributor | สุชินวัตร ยังสุข | th |
dc.contributor.advisor | Ritthikrai Chai-ngam | en |
dc.contributor.advisor | ฤทธิไกร ไชยงาม | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-11-19T09:12:15Z | - |
dc.date.available | 2019-11-19T09:12:15Z | - |
dc.date.issued | 18/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/437 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research is an action research in a classroom. The objectives are to develop the problem-solving ability of students and to study their satisfaction of learning on the topic of light and visual equipment using problem-based learning. The targets are 3 students from a Mathayom Suksa 5, which were purposive sampling from 17 students in the same classroom, after problem-solving ability test. The instruments used in this research consist of (1) 6 plans for learning activities using Problem-based Learning on the topic of light and visual equipment, (2) problem-solving ability test in Rubric scale, and (3) rating scale questionnaires on satisfaction of learning activities using Problem-based Learning about light and visual equipment. The process of problem-solving ability consist of 3 loops, 2 plans per loop. There are 4 steps in the cycle; planning, doing, assessing, and reflecting. The ability test is used after each cycle. The statistics using for data analysis is mean, percentage and standard deviation. The results of the research revealed that (1) problem-solving ability of 3 students raised from 50.0%, 44.33%, 27.67% in the first loop to 61.0%, 50.0%, 77.67% in the second loop, and to 89.0%, 66.67%, and 72.33% in the third loop respectively. It showed that the learning management using Problem-based Learning about light and visual equipment can develop the ability of students, (2) in the term of the satisfaction of the students about the learning management using Problem-based Learning about light and visual equipment, they are satisfied at a high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 จำนวน 3 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง หลังจากการทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหา จากนักเรียนในชั้นเรียนเดียวกันทั้งหมด 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ จำนวน 6 แผนการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 3 วงรอบ ๆ ละ 2 แผนการเรียนรู้ แต่ละวงรอบแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนได้แก่ การวางแผน การลงมือทำ การประเมินผล และการสะท้อนผล โดยทำการทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาหลังการจัดการเรียนรู้แต่ละวงรอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 คน หลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีความสามารถในการแก้ปัญหาในวงรอบที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 50.00 44.33 และ 27.67 ในวงรอบที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 61.00 50.00 และ 77.67 และวงรอบสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ 89.0 66.67 และ 72.33 ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น สามารถพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนได้ และพบว่านักเรียนพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ความสามารถในการแก้ปัญหา | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ | th |
dc.subject | Problem-solving Ability | en |
dc.subject | Problem-based Learning | en |
dc.subject | Action Research | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Development of Problem-solving Ability of Mathayom Suksa Students, Using Problem-based Learning on the Topic of Light and Visual Equipment | en |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง แสง และทัศนอุปกรณ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010556020.pdf | 5.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.