Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/446
Title: Development of a Performance Appraisal System for Government Employees at the Provincial Statistical Office
การพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ สำนักงานสถิติจังหวัด
Authors: Pornweenus Khoungsimma
พรวีนัส ข่วงสิมมา
Songsak Phusee - Orn
ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: ระบบ, การประเมินผลการปฏิบัติงาน, พนักงานราชการ
System
Performance Appraisal
Government Employees
Issue Date:  3
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This study aims: (1) to perform a needs assessment for the development of a performance appraisal system for government employees, (2) to develop the performance appraisal system for the government employees, (3) to analyze the results of the performance appraisal system for the government employees, and (4) to evaluate the performance appraisal system for the government employees. The results are as follows: 1. The results of the needs assessment on the performance appraisal system for the government employees revealed a significant difference (Z* = 15.55, P-value = 0.00) between the current conditions and expected conditions and the performance appraisal system for government employees was at a critical level of the need for development (PNImodified = 0.40). 2. The results from the development of the performance appraisal system revealed three components of 46 indicators: the first component of the results with 32 performance indicators, the second component of behavior / competency with 7 performance indicators, and the third components of traits with 7 performance indicators. The performance appraisal system contains: (1) the input of the performance appraisal system including what to evaluate, what instrument to be used, who to perform the system, and when and how long to perform, (2) the process including the agreement, formative assessment and summative assessment, (3) the productivity including formative assessment report and summative assessment report, and (4) the informal feedback and formal feedback.  3. The results of the performance appraisal system through Known-Group Technique revealed that the concurrent validity of the system was statistically significant at .05 level. 4. The results of the evaluation on the performance appraisal system suggested the satisfaction with the performance appraisal system at the high level (mean =4.09, S.D. = 0.34). The evaluation of the quality on the performance appraisal system according to the criteria of the personnel evaluation standards revealed that all of the qualities were at the high level.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) ศึกษาความต้องการจำเป็นของระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ (2) พัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ  (3) ศึกษาผลการใช้ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ สำนักงานสถิติจังหวัด  และ (4) ประเมินระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ ผลการวิจัยเป็นดังนี้ 1. ผลการประเมินความต้องการจำเป็นของระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ พบว่า สภาพที่เป็นจริงและสภาพที่ควรจะเป็นของระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Z* = 15.55, P-value = 0.00) และระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับ มีความจำเป็นที่ต้องได้รับการพัฒนา (PNImodified เท่ากับ 0.40 ) 2.พัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ พบว่า ตัวชี้วัดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 46 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 1 ผลสำเร็จของงาน 32 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 2 พฤติกรรม/สมรรถนะ ในการปฏิบัติงาน 7 ตัวชี้วัด และ องค์ประกอบที่ 3 คุณลักษณะบุคคล 7 ตัวชี้วัด  ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย (1) ปัจจัยนำเข้า ได้แก่ สิ่งที่ต้องประเมิน  เครื่องมือประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้ทำหน้าที่ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน และเวลาในการประเมินผลการปฏิบัติงาน  (2) กระบวนการ ได้แก่  กำหนดข้อตกลงการปฏิบัติงาน  การประเมินความก้าวหน้า และการประเมินผลสรุป  (3) ผลผลิต ได้แก่ ผลการประเมินความกว้าหน้า และผลการประเมินผลสรุป และ (4) ข้อมูลย้อนกลับ ได้แก่ ข้อมูลย้อนกลับอย่างไม่เป็นทางการ และข้อมูลย้อนกลับอย่างเป็นทางการ 3. ผลการใช้ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ โดยเทคนิคกลุ่มรู้ชัด พบว่า ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานมีความตรงเชิงจำแนกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ผลประเมินระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ พบว่า ความพึงพอใจต่อระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =4.09, S.D. = 0.34) การประเมินคุณภาพระบบประเมินตามกรอบมาตรฐานการประเมินบุคคล พบว่า ทุกมาตรฐาน คุณภาพอยู่ในระดับ มาก
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/446
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010562002.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.