Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBenjawan Kammaen
dc.contributorเบญจวรรณ คำมาth
dc.contributor.advisorHemmin Thanapatmeemameeen
dc.contributor.advisorเหมมิญช์ ธนปัทม์มีมณีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:19:10Z-
dc.date.available2019-11-19T09:19:10Z-
dc.date.issued28/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/449-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to The development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1 to achieve the efficiency criteria of 80/80, 2) to compare the development of fine motor skills of early childhood children before and after taught with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1using dependent sample t-test, 3) to study the creativity of students towards the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, and 4) to study students’ satisfaction towards the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1. The results of this study indicated as follows: 1) The efficiency of the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1 (E1/E2) was 84.33/86.8. 2) By analyzing the development of fine motor skills of early childhood children before and after taught with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, strength, agility, flexibility, eye-hand coordination were related with a statistical significance level of .01, accepting the set hypothesis. 3) By analyzing the creativity of childhood children after taught with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, the creativity of the students (86.42%) was at a high level with a mean of 3.45. 4) By evaluating students’ satisfaction with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, students were satisfied with the content (92.68%), instructional media and materials (95.12%), and presentation technique (97.56%).en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 3) เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.33/86.8 2. ผลการวิเคราะห์พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ด้านความแข็งแรงในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านความคล่องแคล่วในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านความยืดหยุ่นในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และด้านการทำงานประสานความสัมพันธ์ของมือกับตาในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่ง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ผลการวิเคราะห์ความคิดสร้างสรรค์ หลังได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีระดับความคิดสร้างสรรค์ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.45 คิดเป็นร้อยละ 86.42 4. ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 พบว่า ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 นักเรียน มีความพึงพอใจด้านเนื้อหา คิดเป็นร้อยละ 92.68 มีความพึงพอใจด้านสื่อและอุปกรณ์ในการเรียน คิดเป็นร้อยละ 95.12 มีความพึงพอใจด้านเทคนิคการนำเสนอ คิดเป็นร้อยละ 97.56th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้th
dc.subjectสื่อประสมth
dc.subjectพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กth
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์th
dc.subjectdevelop Learningen
dc.subjectMultimediaen
dc.subjectSmall muscleen
dc.subjectcreative thinkingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of a Learning Experience use of Multimedia to Development Small Muscle and Creative Thinking Students from Kindergarten Anuban 1en
dc.titleการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010580031.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.