Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/451
Title: Effects  of  Body  Weight  Training  on  Health  Related  Physical  Fitness of  Overweight  Woman
ผลของการฝึกด้วยน้ำหนักตัวที่เป็นแรงต้านที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของผู้หญิงที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน
Authors: Prem Phimai
เปรม พิมาย
Chairat Choosakul
ชัยรัตน์ ชูสกุล
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: แรงต้าน
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
น้ำหนักเกินมาตรฐาน
Resistant
Health – Related Physical Fitness
Overweight
Issue Date:  19
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objective of this study was to study effects of body weight training on health related physical fitness of overweight woman.The samples were women overweight 30 people,  The data analyzed statistics were used to describe statistics , data normality tested by Shapiro - Wilk test and pre - post experimental data compared by  Paired-Sample t-test. The research results were found that the pre-post Effects of Body Weight Training effect to the change of physical fitness with 5 objects Body composition ,cardiorespiratory endurance, muscle endurance, arm strength shoulder and chest, muscles muscular abdomen, lower back. Physical Fitness were improved and differ from significant (p<.05). Moreover, Bone Mass was found that It isn’t difference. 
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  ผลของการฝึกโดยโปรแกรมการฝึกด้วยน้ำหนักตัว  ที่เป็นแรงต้านที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการออกกำลังกายของผู้หญิงที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน   กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้หญิงที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน  จำนวน  30  คน  ได้มาด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย  (Simple  Random  Sampling)  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่  โปรแกรมการฝึกด้วยน้ำหนักตัวที่เป็นแรงต้าน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  ได้แก่  สถิติพื้นฐาน  ตรวจสอบการกระจายข้อมูลด้วยสถิติ  Shapiro-Wilk  Test  และเปรียบเทียบความแตกต่างก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ  Paired-Sample  t-test ผลการวิจัยพบว่า การฝึกโดยโปรแกรมการฝึกด้วยน้ำหนักตัวที่เป็นแรงต้าน ก่อนและหลังการทดลอง มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ทั้ง 5 ด้าน องค์ประกอบของร่างกาย   ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหัวใจ  ความอดทนของกล้ามเนื้อ  ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขน หัวไหล่และกล้ามเนื้อหน้าอก  ความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ หน้าท้อง  หลังช่วงล่างและต้นขาด้านหลัง   มีการพัฒนาขึ้นและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  ส่วนในด้านองค์ประกอบของร่างกาย มวลกระดูก ก่อนและหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน  
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/451
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010582004.pdf4.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.