Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKannika Kaenketen
dc.contributorกรรณิการ์ แก่นเกษth
dc.contributor.advisorWaraporn Erawanen
dc.contributor.advisorวราพร เอราวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:19:10Z-
dc.date.available2019-11-19T09:19:10Z-
dc.date.issued16/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/453-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research objectives were 1) to study the characteristics of research related to teaching and learning to develop Thai language writing of students at the elementary level 2) to compare the research characteristics affecting to the effect size. The 89 experimental research reports published in 2006-2015 were synthesized. The research instruments were the recording from of research characteristics and the research evaluation from. There were 89 effect sizes calculated by using Glass’s method. The research characteristics consisted with 2 components with 26 variables. The data were analyzed by using descriptive statistics, the analysis of effect sizes means, and analysis of variance. The research results were as follow. 1. Research reports on innovation to develop analytical thinking skill are the most studied in 2006-2015. The most popular field of study was Curriculum and Instruction. The majority of research had total pages about 227 pages. Excluding appendices had 92 pages. 2. The research characteristics effecting to effect size 2.1) The aspect of content component, the variables that could explain statistically significant at the .05 level the difference of effect size were 2 variables ; research object and learning materials. 2.2) the aspect of research methodology, the 3 variables that could explain statistically significant at the .05 level the difference of effect size were variables ; Sample selection process, How to find quality research tools and types of data analysis.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะงานวิจัยเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนภาษาไทยของนักเรียนในระดับประถมศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะงานวิจัยที่มีผลต่อค่าขนาดอิทธิพล ของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนภาษาไทยของนักเรียนในระดับประถมศึกษา งานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ในครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลองที่ตีพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2549-2558 จำนวน 89 เล่ม โดยใช้แบบบันทึกคุณลักษณะงานวิจัย และแบบประเมินคุณภาพงานวิจัยเป็นเครื่องมือในการวิจัยที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมด 5 ท่าน วิเคราะห์ค่าขนาดอิทธิพลคำนวณตามวิธีของ Glass จำนวน 89 ค่า ตัวแปรคุณลักษณะงานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้วิจัยและการพิมพ์ ด้านเนื้อหาสาระงานวิจัย และด้านวิธีวิทยาการวิจัย รวม 26ตัวแปร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพล และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า 1. งานวิจัยที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนภาษาไทยมีการศึกษามากที่สุดในปี พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2555 สาขาที่ทำการศึกษามากที่สุดคือ สาขาหลักสูตรและการสอน งานวิจัยส่วนใหญ่มีจำนวนหน้าทั้งหมดเฉลี่ย 227 หน้า เมื่อไม่รวมภาคผนวกมีจำนวน 92 หน้า 2. คุณลักษณะงานวิจัยที่มีต่อค่าขนาดอิทธิพลได้แก่ 2.1) เนื้อหาสาระของงานวิจัยพบว่า ตัวแปรที่สามารถอธิบายความแตกต่างของค่าขนาดอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีจำนวน 2 ตัวแปร ได้แก่ ความมุ่งหมายของการวิจัยและสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2.2) ด้านวิธีวิทยาการวิจัยพบว่า ตัวแปรที่สามารถอธิบายความแตกต่างของค่าขนาดอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีจำนวน 3 ตัวแปร ได้แก่ รูปแบบของการสุ่มตัวอย่าง วิธีการหาคุณภาพเครื่องมือ และประเภทการวิเคราะห์ข้อมูลth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเขียนth
dc.subjectภาษาไทยth
dc.subjectWritingen
dc.subjectThai Languageen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA Synthesis of Research on Learning and Teaching to Improve Writing Skills in Thai Language for Primary Education : Meta-Analysisen
dc.titleการสังเคราะห์งานวิจัยด้านการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา : การวิเคราะห์อภิมานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010584001.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.