Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/461
Title: Development on Child-Centered Learning Activities in Schools under Nongbualamphu Primary Educational Service Area Office 1
การพัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1
Authors: Panupong Sonachot
ภาณุพงศ์ โสนโชติ
Thanarat Sripongngam
ธนารัตน์ ศรีผ่องงาม
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนาแนวทาง
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
Development
Child-Centered Learning Activities
Issue Date:  28
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of the research were 1) to study the components and the indicators of child-centered learning activities in schools under Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Office 1 2) to study current conditions and desirable conditions of child-centered learning activities, and 3) to develop guidelines of child-centered learning activities.  The research had been conducting for 3 phases. The first phase was the study of the components and the indicators of child-centered learning activities conducted by 5 academic experts; the second phase was the study of current conditions and desirable conditions of child-centered learning activities conducted by sampling group which consisted of school administrators and teachers for 424 persons selected by Stratified Random Sampling using the table of Krejcie and Morgan (Krejcie and Morgan; referred by BoonchomSrisa-ard, B.E.2545); and phase 3 wasguidelines development of child-centered learning activities duplicatedBest Practice from 3 pilot schools by 6 experts.The guidelines were inspected, assured, and appraised by 9 experts using Focus Group method.The study tools were questionnaire, interview, focus group record, and evaluation form.  Statistics used to analyze data were index of item-objective congruence (IOC), percentage, MEAN, standard deviation (SD), discrimination,  the entire coefficient of reliability at 0.96.
การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 3) พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่  ผู้บริหารโรงเรียนและผู้สอน จำนวน 42 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified  Random Sampling)  และเปิดตารางสำเร็จรูปของ (Krejcie and Morgan; อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ระยะที่ 3 การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 โดยศึกษา Best Practices จากโรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจำนวน 3 โรงเรียน จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 6  คน และตรวจสอบ ยืนยัน ประเมินแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน  9 คน ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแบบประเมิน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96  
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/461
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010586033.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.