Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/462
Title: Development the School Internal Supervision Implement Guidelines by Professional Learning Community Concept for Schools under Kalasin Provincial Administrative Organization
การพัฒนาแนวทางดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์
Authors: Wanida Phuwichai
วนิดา ภูวิชัย
Suwat Junsuwan
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การนิเทศภายใน
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การพัฒนาแนวทาง
Internal Supervision
Professional Learning Community
Development Guidelines
Issue Date:  30
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This study aimed at 1) studying the indicators and components of internal supervision by professional learning community concept 2) studying the current state and desirable state of internal supervision professional learning community concept for schools under Kalasin Provincial Administrative Organization and 3) developing internal supervision implement guidelines by professional learning community concept for schools under Kalasin Provincial Administrative Organization. The study divided into 3 phases, the first phase was synthesized the components of internal supervision by professional learning community concept used assess form to collected data from 5 luminaries, the second phases was a study of the current state and desirable state of internal supervision by professional learning community concept for schools under Kalasin Provincial Administrative Organization using questionnaire to collected data from 84 administrators and teachers, the third phases was developing internal supervision implement guidelines by professional learning community concept for schools under Kalasin Provincial Administrative Organization using interview form to collected from administrators and teacher in examples schools and used assess form to collected data from 5 luminaries. Descriptive statistics used in this study were mainly percentage, average and modified priority needs index. The result of this study were found:                1. The result of components synthesized about the internal supervision implemented by professional learning community concept included 4 components were component 1 supervision planning, component 2 supervision, component 3 evaluate track and improve work, and component 4 reflections on the results, reporting and disseminate the supervision results. The result of components’ suitability assessed by luminaries, the opinions overall were at high levels.               2. The internal supervision implemented by professional learning community concept for schools under Kalasin Provincial Administrative Organization, They have current state and desirable state overall both aspects were at high levels.                  3. Guidelines of internal supervision implemented by professional learning community concept for schools under Kalasin Provincial Administrative Organization included 4 components 37 indicators 50 guidelines, the result of suitability assessment and feasibility assessment overall both aspects were at high levels.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ 3) เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 สังเคราะห์องค์ประกอบของการดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพใช้แบบประเมินในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ ใช้แบบสอบถามในการ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและครู จำนวน 84 คน ระยะที่ 3 การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ใช้แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูโรงเรียนต้นแบบ และแบบประเมินในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คนสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า                                                         1. ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบของการดำเนินงานนิเทศภายใน โดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 วางแผนการนิเทศองค์ประกอบที่ 2 ดำเนินการนิเทศองค์ประกอบที่ 3 ประเมินผล ติดตามและปรับปรุงการทำงาน และองค์ประกอบที่ 4 การสะท้อนผล รายงาน และเผยแพร่ผลการนิเทศผลการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบการ โดยผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก                2. การดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์มีสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก                                                                          3. แนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 37 ตัวชี้วัด 50 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการดำเนินงานนิเทศภายในโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า แนวทางมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/462
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010586038.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.