Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhitchanan Mc Cormicken
dc.contributorพิชชานันท์ แมคคอร์มิคth
dc.contributor.advisorSombat Thairueakhamen
dc.contributor.advisorสมบัติ ท้ายเรือคำth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:31:46Z-
dc.date.available2019-11-19T09:31:46Z-
dc.date.issued29/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/474-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to improve mathematics achievement is the Mathematics  Learning Numbers and Numerical Work for Prathomsueksa  6 Student to analyze the Classical Test Theory and Diagnostic groups and leaning about leaning in Numbers and Numerical Work for Prathomsueksa  6 Student under the Office of Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Zone 1. The sample of this study comprise from 400 Prathomsueksa  6  students from 24 schools from two semester year 2018. Obtained using the Stratified Random Sampling technique. The instrument used in the study was 1) test to investigate defects. To test the proposition is to show students hoe to think and explain why or resolution. They are built by 4 issue of 75 items. 2) The diagnostic first test of 4 choices. They are built by 4 issue of 75 items. 3) Second test for the diagnostic of 4 choices. They are built by 4 issue of 60 items. Which the diagnostic first test and second test to determine the quality of the test. The discrimination. Reliability. And the standard error of measurement. The findings revealed the following : 1. The Construction of Learning Diagnostic Tests in the Mathematics  Learning Numbers and Numerical Work for Prathomsueksa  6  to analyze the test quality of Classical Test Theory. The results of the analysis are as follows. 1.1 The content validity test to investigate and the Leaning Diagnostic First Test showing congruence indices ranging 0.80 - 1.00 1.2 The discrimination of diagnostic in term of discriminative powers ranging for first tests of 4 issue is 0.20 – 0.77 and second test of 4 issue is 0.38 – 0.73 1.3 The reliability of the leaning Diagnostic first test of 4 issue in terms of the reliability were 0.70, 0.74, 0.73, 0.71 respectively and leaning Diagnostic second test of 4 issue in terms of the reliability were 0.72, 0.76, 0.73 and 0.70 1.4 The standard error of measurement of the Leaning Diagnostic first test of 4 issue were 1.731, 1.998, 1.995, 1.842 and Leaning Diagnostic second test of 4 issue were 1.609, 1.891, 2.047 and 1.977. 2. The study of defects in the test of a Numbers and Numerical Work showed Subject 1 The number found that students lack the most dividing skills, followed by students lacking problem solving skills. And students lacking the least positive skills. The 2nd issue of Decimals found that students lack the skills to create problems. The most common problem, followed by students lacking decimal division skills. And students lack the least care. Subject 3: Fractions, found that students lack the skills of addition and subtraction, the largest number, followed by students lacking the skills to add and subtract fractions. And students do not understand the principle of writing fractions in the least decimal form. Subject 4: Factors of the number of students found that students lack the analytical skills, problems, problems with MR and HRH, the most followed by students lacking skills in finding the students and students. Do not understand the minimum numberen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ สร้างแบบการสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน  เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่วิเคราะห์คุณภาพด้วยทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม และวินิจฉัยข้อบกพร่องทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2561 จำนวน 400 คน  จาก 24 โรงเรียน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบเพื่อสำรวจข้อบกพร่องเป็นแบบทดสอบแสดงวิธีทำ จำนวน 4 ฉบับ  2) แบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียนเพื่อทดสอบครั้งที่ 1  ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 4 ฉบับ  3) แบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียนเพื่อทดสอบครั้งที่ 2 ชนิดเลือกตอบ  4 ตัวเลือก  จำนวน 4 ฉบับ  โดยแบบทดสอบวินิจฉัยครั้งที่ 1  และครั้งที่ 2 หาคุณภาพของแบบทดสอบ  ด้านค่าอำนาจจำแนก  ค่าความยาก  ค่าความเที่ยงและค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัด ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1.  การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน เรื่องจำนวนและการดำเนินการ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่วิเคราะห์ด้วยทฤษฎีการทดสอบแบบดั่งเดิม ได้ผลการวิเคราะห์คุณภาพ ดังนี้ 1.1  ค่าความตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบเพื่อสำรวจข้อบกพร่องทางการเรียนและแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน  มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80 - 1.00 1.2  ค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน ครั้งที่ 1  ทั้ง 4 ฉบับ มีค่าอำนาจจำแนก 0.32 – 0.62, 0.20 – 0.77, 0.18 – 0.76 และ 0.36 – 0.73 ตามลำดับ และครั้งที่ 2 ทั้ง 4 ฉบับ  มีค่าอำนาจจำแนก เท่ากับ 0.42 – 0.56, 0.42 – 0.72, 0.38 – 0.73 และ 0.41 – 0.58 ตามลำดับ 1.3  ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน ครั้งที่ 1  ทั้ง 4 ฉบับ มีค่าความเที่ยงตั้งแต่ 0.70,  0.74, 0.73, 0.71 ตามลำดับ และแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน  ครั้งที่ 2 ทั้ง 4 ฉบับมีค่าความเที่ยง 0.72, 0.76,  0.73  และ 0.70 1.4  ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัดของแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน ครั้งที่ 1 ทั้ง 4 ฉบับ  มีค่า 1.731, 1.998, 1.995 และ 1.842 และแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน ครั้งที่ 2 ทั้ง 4 ฉบับ มีค่า 1.609, 1.891, 2.047 และ 1.977 2.  ผลการศึกษาข้อบกพร่องในการทดสอบ เรื่องที่ 1 จำนวนนับ พบว่า นักเรียนขาดทักษะการหาร มากที่สุด รองลงมาคือ นักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และนักเรียนขาดทักษะด้านการบวก น้อยที่สุด เรื่องที่ 2 เรื่อง ทศนิยม พบว่า นักเรียนขาดทักษะการสร้างโจทย์ปัญหาระคน มากที่สุด รองลงมาคือ นักเรียนขาดทักษะการหารทศนิยม และนักเรียนขาดความรอบคอบในการทำงาน น้อยที่สุด  เรื่องที่ 3 เรื่อง เศษส่วน พบว่า นักเรียนขาดทักษะการบวกและการลบจำนวนคละ มากที่สุด รองลงมาคือ นักเรียนขาดทักษะการบวกและการลบเศษส่วน และนักเรียนไม่เข้าใจหลักการเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม น้อยที่สุด เรื่องที่ 4 เรื่องตัวประกอบของจำนวนนับ พบว่า นักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับห.ร.ม.และค.ร.น.มากที่สุด รองลงมาคือ นักเรียนขาดทักษะการหา ค.ร.น. และนักเรียนไม่เข้าใจเรื่องจำนวนเฉพาะ น้อยที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแบบทดสอบวินิจฉัยth
dc.subjectDiagnostic Testsen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleConstruction of Learning Diagnostic Tests in the Mathematics  Learning Numbers and Numerical Work for Prathomsueksa 6 Student under the Office of Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Zone 1en
dc.titleการสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยทางการเรียน  เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57030581013.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.