Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJamjan Heattungen
dc.contributorแจ่มจันทร์ เหตุถังth
dc.contributor.advisorSombat Tayraukhamen
dc.contributor.advisorสมบัติ ท้ายเรือคำth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:35:13Z-
dc.date.available2019-11-19T09:35:13Z-
dc.date.issued25/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/510-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) studying the components of the school-based management in the private schools, 2) investigating the present and desired conditions of the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1, and 3) proposing the guidelines for the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1. This research is divided into 3 phases: Phase 1 studying the components of the school-based management in the private schools, divided into 3 sub-steps, namely, step 1, study documents, texts, concepts, theories and related research, step 2 synthesis of elements of school-based management as a base from document studies, and Step 3, assessing the appropriateness of the components of school-based management by 5 experts. The key informants of Phase 2 obtained by the use of stratified random sampling technique were 248 teachers and 21 administrators of the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1 using school-based management. And Phase 3, developing guidelines for the administration of school-based operations of private schools, divided into 2 sub-steps, namely, step 1, interviewing 3 administrators, to find problems and solutions in the administration by using the school as a base, and Step 2, draft the guidelines for managing schools using the base of private schools Informant group were 2 administrators and 1 deputy director. The research instruments consisted of the questionnaire regarding the development of the guidelines for school-based management in private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1, the interview about the guidelines for school-based management in private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1. The statistics used for data analysis were basic statistics, Priority Needs Index. The research findings were as follows: 1. The study of components of the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1 showed that there were 5 components as follows; 1) the decentralization of power, 2) the participation management, 3) the returning of educational management power to people, 4) the self-management aspect and 5) the checks and balances of power. 2. The investigation of the present and desired conditions of the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1 revealed below. 2.1 The present condition of the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1, as a whole and as an individual aspect was at high level. Ranging from high to low mean were the checks and balances of power, the self-management aspect, the decentralization of power, the returning of educational management power to people and the participation management 2.2 The desired condition of the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1, as a whole and as an individual aspect was at high level. Ranging from high to low mean were the participation management, the checks and balances of power, the returning of educational management power to people, the decentralization of power and the self-management aspect , respectively. 2.3 The findings of the Priority Needs Index (PNImodified) analysis of the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1 showed the highest need to the lowest need as follows: the participation management, the returning of educational management power to people, the decentralization of power, the self-management aspect, and the checks and balances of power, respectively. 3. The guidelines for the school-based management in the private schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1 were found to have 5 aspects consisting of 1) the decentralization of power, 2) the participation management, 3) the returning of educational management power to people, 4) self-management, and 5) the checks and balances of power.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญ 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญ 3) เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 การวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน แบ่งเป็น 3 ขั้นตอนย่อย คือ ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสาร ตำรา แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 2 สังเคราะห์องค์ประกอบของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ได้จากการศึกษาเอกสาร และขั้นที่ 3 ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน ตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน จำนวน 21 คน และครู จำนวน 248 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) และระยะที่ 3 พัฒนาแนวทางการดำเนินงานด้านการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน แบ่งเป็น 2 ขั้นตอนย่อย คือ ขั้นที่ 1 สัมภาษณ์ผู้บริหาร จำนวน 3 คน เพื่อหาประเด็นปัญหาและวิธีแก้ไขในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และขั้นที่ 2 ร่างแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหารจำนวน 2 คน รองผู้อำนวยการ จำนวน 1 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม การพัฒนาแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 แบบมาตราส่วนประมาณค่า จำนวน 1 ฉบับ และแบบสัมภาษณ์ จำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (Priority Needs Index) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 พบว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านหลักการกระจายอำนาจ 2) องค์ประกอบด้านหลักการมีส่วนร่วม 3) องค์ประกอบด้านหลัก การคืนอำนาจจัดการศึกษาให้กับประชาชน 4) องค์ประกอบด้านหลักการบริหารตนเอง และ 5) องค์ประกอบด้านหลักการตรวจสอบและถ่วงดุล 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1พบว่า 2.1 สภาพปัจจุบันในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล รองลงมาคือ หลักการบริหารตนเอง หลักการกระจายอำนาจ หลักการคืนอำนาจ และหลักการมีส่วนร่วม 2.2 สภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ หลักการมีส่วนร่วม รองลงมาคือหลักการตรวจสอบและถ่วงดุล หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษา หลักการกระจายอำนาจ และหลักการบริหารตนเอง ตามลำดับ 2.3 ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความต้องการจำเป็นปรับปรุง (PNImodified) ใน การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 พบว่า ลำดับความต้องการจำเป็นในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 โดยเรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักการคืนอำนาจ ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านหลักการบริหารตนเอง และด้านหลักการตรวจสอบและถ่วงดุล ตามลำดับ 3. การพัฒนาแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 พบว่า ประกอบไปด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการกระจายอำนาจ 2) หลักการมีส่วนร่วม 3) หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษาให้กับประชาชน 4) หลักการบริหารตนเอง และ 5) หลักการตรวจสอบและถ่วงดุลth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานth
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectGuidelinesen
dc.subjectSchool-Based Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Guidelines for School-Based Management in Private Schools under Udon Thani Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010586034.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.