Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhongsak Sangkamaneeen
dc.contributorพงษ์ศักดิ์ สังฆมณีth
dc.contributor.advisorChattrakul Sombuttheeraen
dc.contributor.advisorฉัตรตระกูล สมบัติธีระth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Informaticsen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:44:28Z-
dc.date.available2019-11-19T09:44:28Z-
dc.date.issued16/8/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/539-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study are 1) to investigate the data positioning pattern of the recovery block through XOR technique, 2) to find out data positioning pattern through software development, and 3) to propose the recovery testing results of data positioning pattern of the recovery block. The results reveal that 1) from the previous studies, XOR is the only one technique offered for data positioning which is stripping the data into 6 parts and creating 3 parity, then positioning all 9 parts into the 3x3. However, the technique mentioned earlier can be done when 3 lost data is in the same row or the same column. 2) The results from C++ software development to find out the data positioning of 3x3 data block through XOR technique show that 2,592 data could be recovered. 3) To test the data recovery of 2,592 patterns from program development by stimulating 3 servers found that the data could be recovered for 100 % under the condition of less than 3 lost data in the same row or same column.en
dc.description.abstractงานวิจัยเทคนิคการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลโดยใช้เทคนิคการ XOR  2) ค้นหารูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลด้วยวิธีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3) นำเสนอการทดสอบการกู้คืนข้อมูลของรูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลของงานวิจัยก่อนหน้า พบว่ารูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลขนาด 3 x 3 โดยใช้เทคนิคการ XOR เพียงรูปแบบเดียว คือ การแบ่งไฟล์ข้อมูลออกเป็น 6 ส่วน และสร้าง Parity อีก 3 ส่วน แล้วนำไฟล์ข้อมูลทั้ง 9 ส่วนไปจัดวางในตำแหน่งรูปแบบการจัดวาง 3 x 3 เพียงรูปแบบเดียวเท่านั้น และการกู้ข้อมูลของงานวิจัยดังกล่าวจะสามารถทำได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลหายไปไม่เกิน 3 กล่อง ที่อยู่ในแถวเดียวกัน หรือ 3 กล่อง ที่อยู่คอลัมน์เดียวกันเท่านั้น 2) ผลการวิจัยการค้นหารูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูล ด้วยวิธีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษา C++ พบว่ารูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลขนาด 3 x 3 โดยใช้เทคนิคการ XOR มีจำนวนมากกว่า 1 รูปแบบ ซึ่งผลการทดลองจากการเขียนโปรแกรมเพื่อค้นหารูปแบบการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลขนาด 3 x 3 พบว่ามีรูปแบบการจัดวางข้อมูลมากถึง 2,592 รูปแบบที่สามารถกู้คืนข้อมูลได้ 3) ผลการวิจัยเพื่อทดสอบการกู้คืนข้อมูลตามรูปแบบการจัดวางข้อมูลทั้ง 2,592 รูปแบบ ด้วยการเขียนโปรแกรม โดยการจำลองกระจายข้อมูลไปเก็บยังเครื่องแม่ข่ายจำนวน 3 เครื่อง ต่างระบบปฏิบัติการเพื่อทดสอบการกู้คืนข้อมูล จากการทดสอบพบว่าสามารถกู้คืนข้อมูลที่สูญหายไปกลับคืนมาได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ภายใต้เงื่อนไขข้อมูลสูญหายไปไม่เกิน 3 กล่อง ที่อยู่ในแถวเดียวกัน หรือ 3 กล่อง ที่อยู่คอลัมน์เดียวกันth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectกล่องข้อมูลth
dc.subjectรูปแบบการจัดวางข้อมูลth
dc.subjectกู้คืนข้อมูลth
dc.subjectเทคนิคการ XORth
dc.subjectData blocken
dc.subjectData positioningen
dc.subjectData recoveryen
dc.subjectXOR techniqueen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleData positioning technique for data recoveryen
dc.titleเทคนิคการจัดวางตำแหน่งของกล่องข้อมูลเพื่อกู้คืนข้อมูลth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57011282003.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.