Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/544
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorVeerapat Jantarajaturapaten
dc.contributorวีรภัทร จันทรจตุรภัทรth
dc.contributor.advisorPongpipat Saithongen
dc.contributor.advisorพงษ์พิพัฒน์ สายทองth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Informaticsen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:44:28Z-
dc.date.available2019-11-19T09:44:28Z-
dc.date.issued17/6/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/544-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop an instructional media using virtual reality technique on Light and Shadow, 2) to evaluate the quality of an instructional media on Light and Shadow, 3) to measure the perceptions of the target group before and after learning, 4) to evaluate the satisfaction of the target group with the developed instructional media. The research instruments included 1) Lesson application on Light and Shadow using virtual reality technique, 2) lesson book on Light and Shadow (supporting book along with the developed application), 3) quality assessment by experts, 4) pre-test and post-test, and 5) satisfaction evaluation. The sample of this study was three experts and 30 third-year undergraduate students in Computer Animation and Game Program, Faculty of Informatics, Mahasarakham University. The sample was selected based on a purposive sampling.  The results of this study indicated as follows:1) Light and shadow are the important elements of Art By studying the students often make invisible images of light and shadow. The researcher The Development of learning media using Augmented Reality: the content of lighting and shading  2) The quality of the developed instructional media by experts was at very good level = 4.13. 3) After taught by the developed instructional media, the sample students had higher post-test score than pre-test score. 4) The sample’s satisfaction with the developed instructional media was at a high level = 4.39en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยเทคนิค ความจริงเสมือน เรื่อง แสงและเงา 2) เพื่อประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ เรื่อง แสงและเงา  3) เพื่อวัดผลการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายก่อนและหลังจากเรียน 4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แอปพลิเคชัน บทเรียนสื่อการเรียนรู้ เรื่อง แสงและเงา โดยเทคนิค ความจริงเสมือน 2) หนังสือ บทเรียนสื่อการเรียนรู้ เรื่อง แสงและเงา (หนังสือที่ใช้ร่วมกับแอปพลิเคชัน) 3) แบบประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ 4) แบบทดสอบวัดผลการรับรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 5) แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน และ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปี 3 สาขาวิชา แอนิเมชั้นและเกม คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง ผลวิจัยพบว่า1) แสงและเงาเป็นองค์ประกอบศิลป์ที่สำคัญ โดยการเรียนมักจะทำให้ผู้เรียนมองไม่เห็นภาพแสงเงา ผู้วิจัยจึงได้ดำเนิน การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยเทคนิค ความจริงเสมือน เรื่อง แสงและเงา2) ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่ามีค่าเฉลี่ย  = 4.13 อยู่ในเกณฑ์ คุณภาพดีมาก3) ผลการรับรู้คะแนนของผู้ใช้ก่อนเรียนและหลังเรียนก่อนใช้งานสื่อและหลังใช้สื่อ ให้หัวข้อเรื่อง แสงและเงา หลังการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน4) ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ามีค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย  = 4.39 อยู่ในเกณฑ์ ความพึงพอใจมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectเทคโนโลยีความจริงเสมือนth
dc.subjectแสงและเงาth
dc.subjectAugmented Realityen
dc.subjectLight and Shadow.en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of learning media using Augmented Reality: the content of lighting and shadingen
dc.titleการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยเทคนิค ความจริงเสมือน เรื่อง แสงและเงาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011251002.pdf5.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.