Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/547
Title: Application of Participatory Design to Development of Organic Farming Game Based on The Philosophy of Sufficiency Economy
การพัฒนาเกมส์จำลองชีวิตการทำเกษตรอินทรีย์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการประยุกต์ใช้การออกแบบแบบมีส่วนร่วม
Authors: Watcharakiti Sangsuwan
วัชรกิติ  แสงสุวรรณ
Suebsiri Saelee
สืบศิริ แซ่ลี้
Mahasarakham University. The Faculty of Informatics
Keywords: เกษตรอินทรีย์
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เกมจำลองชีวิต
การออกแบบอย่างมีส่วนร่วม
Organic farming
Philosophy of sufficiency economy
life Simulator
Participatory Design : PD
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This study aimed to: 1) explore the Philosophy of Sufficiency Economy and the participatory design for developing the organic farming life simulation game; 2) develop the organic farming life simulation game based on the Philosophy of Sufficiency Economy; and 3) evaluate the functional quality of the prototype simulation game. In this study, the researcher focused on the literature review on the related documents and supportive theories through the theoretical framework of Human-Centre Design (HCD) that primarily emphasizes the stakeholder’s benefits. The researcher also gave deeper attention on the procedure and background context of the supportive theories in order to construct the research conceptual framework and another theory applied in this study was the Participatory Design (PD). The document data was deducted from the literature review and the field data for the game content was derived from the expert and the sample group including: 1) the organic farmers; 2) the agriculturists; and 3) the agricultural administrative and the sample group from Khon Kaen Vocational College divided into 28 vocational certificate students and 32 high vocational certificate students. In term of the user’s need for the game design, the data was analyzed and interpreted to define the final result for the desired content and other feature designs for the organic farming game following the Philosophy of Sufficiency Economy and this final result was used to create the game through the Game Design Document Outline (GDD). Then, the data set derived from the final result was used to design the game to be evaluated with the 5-point rating scale evaluation by 5 media experts and 100 students from Khon Kaen Vocational College. The outcome indicated that the quality of the game was good (
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเกมจำลองชีวิตการทำเกษตรอินทรีย์ 2) เพื่อพัฒนาเกมจำลองชีวิตการทำเกษตรอินทรีย์ที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) เพื่อประเมินคุณภาพการใช้งานเกมจำลองชีวิตการทำเกษตรอินทรีย์ต้นแบบ โดยกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มประกอบไปด้วย กลุ่มที่ 1 ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามก่อนการผลิตสื่อ 1) เกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ 2)นักวิชาการด้านการเกษตร 3) ฝ่ายบริหารด้านการเกษตร และกลุ่มที่ 2 กลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูลความต้องการด้านการออกแบบ นักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 28 คน และดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) จำนวน 32 คน กลุ่มที่ 3 กลุ่มทดลองในการประเมินคุณภาพสื่อต้นแบบแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มประกอบไปด้วย 1) ผู้เชี่ยวชาญ: ประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ประกอบด้วยด้านการออกแบบสื่อเกม จำนวน 2 คน ด้านเกษตรอินทรีย์จำนวน 2 คน ด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 1 คน  2)กลุ่มตัวอย่าง: ประเมินคุณภาพการใช้งานนักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น จำนวน 100 คน โดยสถิติที่ใช้ในการวิจัยอยู่ในรูปแบบผสมทั้งคุณภาพและปริมาณประกอบไปด้วย การหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสำคัญพบว่า 1) จากการศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือ การพัฒนาที่สมดุลอย่างยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี ซึ่งมีแนวทางสอดคล้องกับการทำเกษตรอินทรีย์ 2) การจะทำเกษตรอินทรีย์ให้ประสบผลสำเร็จต้องมีข้อมูลที่ถูกและมั่นศึกษาหาความรู้ มั่นฝึกฝนและทำให้เกิดความชำนาญ พร้อมวางแผนป้องกันการปนเปื้อนสารพิษ จากทางอากาศและทางน้ำและควรวางแผนจัดการระบบดินในแปลง 3)ประเมินเพื่อทดสอบคุณภาพสื่อเกมของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี ((
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/547
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011280004.pdf11.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.