Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/549
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanin Ngammanaen
dc.contributorคณิน งามมานะth
dc.contributor.advisorJantima Polpinijen
dc.contributor.advisorจันทิมา พลพินิจth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Informaticsen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:44:29Z-
dc.date.available2019-11-19T09:44:29Z-
dc.date.issued29/6/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/549-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractAn automatically finding of software requirements specification (SRS) from software requirements is a problem in requirement engineering. This is because this task becomes a time-consuming and labor-intensive in system analysis and design stage, when it is manually working on a large scale of textual software requirements. Therefore, this work aims to present a method of automatically extracting scenarios from textual software requirements written with English, where a scenario is a narrative of actions of each user (called actor) in a software. After extracting “actor” and its “actions” from textual software requirements, those will be modelled as software process. The main mechanisms of the proposed method are natural language processing (NLP) techniques. After testing actor extraction by recall, precision, and F-measure, the results are 1.00, 0.67 and 0.8 respectively. Meanwhile, extracting of actor’s actions evaluated by recall, reveals the recall score of 0.88.  Although the result in term of precision score is quite poor, the proposed method may still return the satisfactory results in term of recall. By doing so, it may provide a substantial saving for major software development of an organization, especially in developing a software from large and complex software requirements.en
dc.description.abstractการระบุข้อกำหนดซอฟต์แวร์อัตโนมัติ (Software Requirements Specification: SRS) จากเอกสารความต้องการซอฟต์แวร์เป็นปัญหาอย่างหนึ่งในวิศวกรรมความต้องการ (Requirement Engineering) เนื่องจากว่างานในรูปแบบนี้เป็นงานที่ต้องใช้เวลานานและใช้แรงงานอย่างมากในขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยเฉพาะถ้าหากเป็นการทำงานด้วยมือกับเอกสารความต้องการของระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ ดังนั้น ในงานวิจัยฉบับนี้จึงมุ่งเน้นในการนำเสนอกระบวนการในการสกัดซีนาริโอจากเอกสารความต้องการซอฟต์แวร์ที่เป็นภาษาอังกฤษแบบอัตโนมัติ เมื่อซีนาริโอในที่นี้คือลำดับการกระทำ (Action) ของแต่ละผู้กระทำ (Actor) ในซอฟต์แวร์หนึ่งๆ ซึ่งหลังจากสกัดผู้กระทำและการกระทำได้แล้วจะถูกจำลองเป็นกระบวนการของซอฟต์แวร์ (Software process) โดยเครื่องมือหลักที่ใช้ในกระบวนการที่นำเสนอคือเทคนิคของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing Techniques) หลังจากทดสอบการสกัดผู้กระทำจากเอกสารความต้องการซอฟต์แวร์แบบอัตโนมัติด้วยค่าความระลึก ค่าความแม่นยำ และค่าเอฟ ปรากฎว่าให้ผลลัพธ์ที่ 1.00, 0.67 และ 0.8 ตามลำดับ ในขณะที่การทดสอบการสกัดการกระทำของแต่ละผู้กระทำจากเอกสารความต้องการซอฟต์แวร์แบบอัตโนมัติพบว่าให้ค่าความระลึกที่ 0.88 แม้ว่าผลลัพธ์ที่ได้ในเทอมของค่าความแม่นยำจะค่อนข้างต่ำ แต่ก็ให้ผลลัพธ์ในเทอมของค่าความระลึกที่น่าพอใจ ด้วยการทำเช่นนี้ ก็น่าจะช่วยให้เกิดความประหยัดในการพัฒนาซอฟต์แวร์ของแต่ละองค์กร โดยเฉพาะในการพัฒนาซอฟต์แวร์จากความต้องการระบบขนาดใหญ่และซับซ้อนth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความต้องการของซอฟต์แวร์ที่เป็นข้อความth
dc.subjectซีนาริโอth
dc.subjectการประมวลผลภาษาธรรมชาติth
dc.subjectผู้กระทำth
dc.subjectการกระทำth
dc.subjectกระบวนการของซอฟต์แวร์th
dc.subjectTextual Software Requirementsen
dc.subjectScenariosen
dc.subjectNatural Language Processingen
dc.subjectActoren
dc.subjectActionen
dc.subjectSoftwre Processen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleAutomatic Software Process Modelling from Textual Software Requirementsen
dc.titleการสร้างแบบจำลองกระบวนการของซอฟต์แวร์แบบอัตโนมัติจากความต้องการของซอฟต์แวร์ที่เป็นข้อความth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011281003.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.