Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/552
Title: Applying Human-Centered Design for Game Development to Promote the Local Wisdom of Indigo-Dyed Fabrics
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีมนุษย์เป็นศูนย์กลางการออกแบบเพื่อพัฒนาเกมจำลองวิถีชีวิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญาย้อมคราม
Authors: Supawadee Suwannathen
สุภาวดี สุวรรณเทน
Ratanachote Thienmongkol
รัตนโชติ เทียนมงคล
Mahasarakham University. The Faculty of Informatics
Keywords: การใช้ชุมชนเป็นฐาน
ครามธรรมชาติ
มนุษย์เป็นศูนย์กลางของการออกแบบ
Community-based concept
Indigo
Human-centered design
Issue Date:  9
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aims (1) to study process of natural indigo dye with community base concept, (2) to develop game about natural indigo dye wisdom and (3) to evaluate learning through game about natural indigo dye wisdom. The sample is divided in two groups. Group 1 is for collecting information of natural indigo dye process which includes (1) model communities of indigo plant and natural dyes from Sakon Nakhon province, (2) Natural indigo dye process from scholars and experts, (3) from youth volunteers who are interested in indigo dye process in local communities and (4) from media design experts. Group 2 is for evaluating game which includes (1) youth volunteers in Sakon Nakhon province and (2) media evaluation experts. Data is collected via questionnaire, interview, field observation and learning evaluation test. Statistics used in the study are frequency, percentage, mean and standard deviation. The findings show that (1) youth in local communities are interested in learning the process of natural indigo dye; starting from plantation, harvesting, making indigo blue, preparation of soda ash, soaking pot preparation, soaking pot preservation and natural indigo dye using ingredients from local communities, (2) the model of indigo 2D game works on smartphones with android operating system which in the game includes plantation stage, harvesting stage, indigo soaking stage, indigo blue preparation stage, soda ash preparation stage, soaking pot preparation stage, dye stage and soaking pot preservation stage, (3) the overall result of media evaluation is at good level; the highest is content part. The media part receives high level of satisfaction; the highest is interaction with users, and (4) the sampling group has developed in aspect of knowledge of natural indigo dye with E.I. 0.7987, 79.87%.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการย้อมครามธรรมชาติโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 2) เพื่อพัฒนาเกมปฏิสัมพันธ์ภูมิปัญญาย้อมครามธรรมชาติ 3) เพื่อประเมินการเรียนรู้ผ่านสื่อเกมปฏิสัมพันธ์ภูมิปัญญาย้อมครามธรรมชาติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลกระบวนการย้อมสีคราม ได้แก่ 1) ชุมชนต้นแบบวิถีครามและสีย้อมธรรมชาติ จังหวัดสกลนครจากชุมชน 2) นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการย้อมครามธรรมชาติ 3) เยาวชนอาสาสมัครที่มีความสนใจกระบวนการย้อมสีคราม ในชุมชนวิถีครามและสีย้อมธรรมชาติ 4) ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบสื่อ กลุ่มที่ 2 สำหรับทดลองใช้สื่อเกมปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ 1) เยาวชนในจังหวัดสกลนคร โดยเป็นกลุ่มเยาวชนอาสาสมัครและมีความสนใจ ในเขตพื้นที่จังหวัดสกลนคร 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินสื่อต้นแบบ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตภาคสนาม แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) เยาวชนในชุมชนต้องการเรียนรู้กระบวนการย้อมครามธรรมชาติประกอบไปด้วย การปลูก การเก็บเกี่ยวคราม การทำเนื้อคราม การเตรียมน้ำขี้เถ้า การก่อหม้อย้อมคราม การดูแลรักษาหม้อย้อมคราม การย้อมครามธรรมชาติ โดยใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติในท้องถิ่น 2) สื่อต้นแบบ Indigo game ทำงานบนสมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ มีมุมมองแบบ 2 มิติ เป็นเกมการวางแผน แบ่งเนื้อหาออกเป็น ด่านการปลูกคราม ด่านการปลูกคราม การเก็บเกี่ยวคราม การทำน้ำครามสด การเตรียมเนื้อคราม การทำน้ำขี้เถ้า การก่อหม้อย้อมคราม การย้อม การรักษาหม้อย้อม 3) ผลการประเมินคุณภาพสื่อต้นแบบโดยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี โดยด้านที่มากที่สุด คือ ด้านเนื้อหา สื่อต้นแบบมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก โดยด้านที่มากที่สุดคือ ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ 4) กลุ่มตัวอย่างที่เล่นเกมมีพัฒนาการความรู้ในการย้อมครามธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นโดยมีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) 0.7987 คิดเป็นร้อยละ 79.87
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/552
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011280002.pdf4.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.