Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/561
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWaratip Kankarnen
dc.contributorวราทิพย์   แก่นการth
dc.contributor.advisorPramote Thongkrajaien
dc.contributor.advisorปราโมทย์ ทองกระจายth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Medicineen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:48:29Z-
dc.date.available2019-11-19T09:48:29Z-
dc.date.issued5/8/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/561-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe action research was to study the chronic kidney disease care model by using self-management and case management to delay chronic kidney disease in urban areas of Khon Kaen province consists of four steps. Step 1: Study the care situation of patients with chronic kidney disease. Step 2: Synthesize the care model using the concept of self-management and case management consists of 1) Assessing self-management behavior and quality of life for identifying individual problems 2) Educating and practicing self-management skills 3) Monitoring ongoing care at home to empower personal problem-solving 4) Coordinating network partners in holistic care. Step 3: Study the effect of care model for chronic kidney disease, 200 samples were divided into experimental groups and a control group by sampling. Evaluation before and after 12 months of data collection using clinical evaluation, Self-management behavior to delay chronic kidney disease and the quality of life measure. Data analysis with descriptive statistics and Independent-t test. Step 4: Evaluation and recommendation. At the end of the study, the intervention group were 95 and 97 participants in control group. The mean age was 69 years, were female. The comorbidities were diabetes mellitus with hypertension. The absolute eGFR was significantly higher in intervention than in the control group. (49.57+13.14 versus 46.23 + 13.74 ml/min/1.73m2; P < .05) The intervention group had mean blood pressure lower than the control groups statistically significant. (129.58/76.08 versus 135.79/83.59 mmHg) There was also a statistically significant improvement in self-management behavior mean scores and quality of life in intervention groups. However, BMI and waist circumference were not significant difference between the two group. Care model for chronic kidney disease patients using self-management and case management can slow progression of chronic kidney disease, Which requires participation from patients, families and multidisciplinary teams    en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดยใช้การจัดการตนเองและการจัดการรายกรณีเพื่อชะลอโรคไตเรื้อรังในชุมชนเมือง ของจังหวัดขอนแก่นประกอบด้วย 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสถานการณ์การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขั้นตอนที่ 2 สังเคราะห์รูปแบบการดูแลโดยใช้การจัดการตนเองและการจัดการรายกรณีประกอบด้วย 1) ประเมินพฤติกรรมการจัดการตนเองและคุณภาพชีวิตเพื่อระบุปัญหารายบุคคล 2) ให้ความรู้และฝึกทักษาการจัดการตนเอง 3) ติดตามต่อเนื่องที่บ้านเพื่อเสริมพลังแก้ปัญหาระดับบุคคล 4) ประสานภาคีเครือข่ายในการดูแลแบบองค์รวม ขั้นตอนที่ 3 ประเมินผลการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่าง 200 รายแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยการสุ่มตัวอย่าง ประเมินผลก่อนและหลังเก็บข้อมูล 12 เดือน โดยใช้การประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก แบบวัดพฤติกรรมการจัดการตนเอง และ แบบวัดคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และสถิติที ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลและข้อเสนอแนะ  เมื่อสิ้นสุดการศึกษา กลุ่มทดลองคงอยู่ 95 ราย กลุ่มควบคุม 97 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 69 ปี มีโรคร่วมเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยอัตราการกรองของไตเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (49.57,46.23 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) กลุ่มทดลองมีระดับความดันโลหิตลดลงมากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(129.58/78.08, 135.79/83.59 มม.ปรอท) คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการตนเองและคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้นในกลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายและเส้นรอบเอวของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดยใช้การจัดการตนเองและการจัดการรายกรณีสามารถชะลอโรคไตเรื้อรังทั้งนี้ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย ครอบครัว และทีมสหสาขาวิชาชีพth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการตนเองth
dc.subjectการจัดการรายกรณีth
dc.subjectโรคไตเรื้อรังth
dc.subjectSelf-managementen
dc.subjectCase managementen
dc.subjectChronic kidney diseaseen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titleCaring Model for Chronic Kidney Disease Patients using Self- Management and Case Management to Delay Progression of Chronic Kidney Disease in the Urban of Khon Kaenen
dc.titleรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดยการใช้การจัดการตนเองและการจัดการรายกรณี เพื่อชะลอโรคไตเรื้อรังในชุมชนเมือง ของจังหวัดขอนแก่นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011560006.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.