Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/562
Title: Antioxidant and α- Glucosidase Inhibitory Activities of  Phlogacanthus pulcherrimus (T. Anderson) Leaf Extract
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และ ฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส จากสารสกัดใบดีปลากั้ง
Authors: Pichit Noontum
พิชิต โนนตูม
Ampa Konsue
อำภา คนซื่อ
Mahasarakham University. The Faculty of Medicine
Keywords: ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
เอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส
ปริมาณฟีนอลิกและปริมาณฟลาโวนอยรวม
ดีปลากั้ง
Antioxidant
α‑glucosidase
Total phenolic and Total flavonoid contents
Phlogacanthus pulcherrimus
Issue Date:  20
Publisher: Mahasarakham University
Abstract:             This study is experimental research was aimed to investigate antioxidant and  α-glucosidase inhibitory activities of Phlogacanthus pulcherrimus        (T. Anderson) leaf extract. By using the different solvents, including aqueous, 50% ethanol (PPTHE) and 95% ethanol (PPTE). The aqueous extracts are prepared by distilled water at 60°C in water bath (PPTWB) and sonication bath (PPTSO). By the total flavonoid contents (TFC), total phenolic contents (TPC), ferric reducing antioxidant power (FRAP) assay,  2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) and ABTS+ radical scavenging assay respectively. The results revealed that the PPTHE had the highest total phenolic and total flavonoid contents of 16.36 ± 0.45 mgQE / gExt and 10.82 ± 0.54 mgGE/gExt and the highest antioxidant capacity by ABTS assay with  IC50 of 0.63±0.04 mg/mL and the highest antioxidant capacity than aqueous extract water bath (PPTWB) and sonicator bath (PPTSO) 95 % ethanolic extract (PPTE), all extracts showed significant (p < 0.05). In addition to PPTE had the highest antioxidant capacity by FRAP and DPPH assay with 23.61±0.54 mgTE/gExt and IC50 4.60±0.20 mg/mL respectively. But the all extracts less than with antioxidant activity ascorbic and trolox  (P<0.05). The α- glucosidase inhibitory activity showed that PPTSO was more potent to inhibit α-glucosidase emzyme than acarbose with IC50 1.0543±0.11. The results suggest that the Phlogacanthus pulcherrimus (T. Anderson) leaf extracts by using the 50% ethanol had showed more potent anti-oxidation, and sonicator bath (PPTSO) was stronger to α‑glucosidase inhibitory activity. Therefore, chemical compound, mechanism of action, and toxicity for new drug development for clinical application in DM treatment should be further evaluated.
               การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสจากสารสกัดจากสมุนไพรดีปลากั้ง โดยใช้ส่วนของใบ ในตัวทำละลายที่แตกต่างกัน ได้แก่ น้ำ, Hydro ethanol (PPTHE) และ 95% ethanol (PPTE) สารสกัดน้ำเตรียมโดย ใช้เครื่อง Water Bath (PPTWB) และเครื่อง Sonicator Bath (PPTSO) ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส โดยการหาปริมาณฟลาโวนอยด์รวม, การหาปริมาณฟีนอลรวม, การวัดความสามารถของ    สารต้าน อนุมูลอิสระในการให้อิเล็กตรอนอิสระด้วยวิธี Ferric reducing antioxidant power (FRAP) assay, การวิเคราะห์ความสามารถในการต้านออกซิเดชันโดยวิธี 2,2-diphenyl-1- picrylhydrazyl (DPPH) radical scavenging assay และ ABTS assay ตามลําดับ ผลการศึกษาพบว่า สารสกัด PPTHE มีปริมาณฟีนอลรวมและฟลาโวนอยด์รวม มากที่สุด มีค่าเท่ากับ 16.36±0.45 mgQE/gExt และ 10.82±0.54 mgGE/gExt   และมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ เมื่อทดสอบด้วยวิธี ABTS assay มีค่า IC50 0.63±0.04 mg/mL และยังมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระมากกว่าสารสกัด PPTWB, PPTSO และสารสกัด PPTE อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้สารสกัด PPTE  เมื่อทดสอบด้วยวิธี FRAP assay และวิธี DPPH assay พบว่า ความสามารถในการรีดิวซ์สารอนุมูลอิสระที่ดีที่สุด คือ เท่ากับ 23.61±0.54 mgTE/gExt และมีค่า IC50 4.60±0.20 mg/mL ตามลำดับ แต่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้น้อยกว่า Ascorbic acid และ Trolox การวิเคราะห์ความสามารถในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส พบว่า   สารสกัด PPTSO มีความสามารถในการการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสได้ดีที่สุด มีค่า IC50 0.237±0.008 mg/mL  และมีความสามารถในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสได้ดีกว่า Acarboses มีค่า IC50 1.0543±0.11 จากผลการวิจัยนี้แสดงศักยภาพของสารสกัดจากใบดีปลากั้ง ด้วยตัวทําละลายเอทานอล 50% มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดี ส่วนสารสกัดด้วยน้ำโดยการต้มด้วยเครื่อง Sonicator Bath ดังนั้นควรศึกษาเพื่อหาโครงสร้างสารสําคัญ กลไกการออกฤทธิ์ และความปลอดภัย เพื่อพัฒนาเป็นยารักษาหวานต่อไป
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/562
Appears in Collections:The Faculty of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011550002.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.