Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/563
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKampol Khemthongen
dc.contributorกำพล  เข็มทองth
dc.contributor.advisorNiruwan Turnbullen
dc.contributor.advisorนิรุวรรณ เทิร์นโบล์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:49:51Z-
dc.date.available2019-11-19T09:49:51Z-
dc.date.issued20/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/563-
dc.descriptionDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.abstractNoncommunicable diseases (NCDs) are caused by several risk factors. It can affect the patients for their quality of life as well as long time treatable. This study aims to create a model of NCDs surveillance for a person who was a risk of NCDs in Si Sa Ket Province. The study procedure included the evidence bases on situations and the concept of action research, which consisted of planning, action, observation and reflection containing the geographic information system (GIS) programme. Two groups of the participants involved both the risk of NCDs from the database about 611,099 people and 13 purposive sampling participants for the stakeholder who involving for NCDs patients. Data were collected both from the database under WHO questionnaire and the interview form for intervention. The data were analysed using frequency, average, standard deviation and chi-square test as the qualitative data using content analysis. The results reveal that there was 49.07% of NCDs risk in Si Sa ket Province, the participant who were risk factors of NCDs included: Most risk factors was tobacco use in men (p-value<001), waist in women (p-value<001), having diabetes mellitus family in men (p-value<001), having hypertension family in men (p-value<001), alcohol consumption in men  (p-value<001), blood pressure in women (p-value<001), blood sugar level in women (p-value<001), BMI in women (p-value<001), and cholesterol level in women (p-value<001).. The development of NCDs surveillance programme found that 1) set up the exercise programme for the participants, 2) adoption IT to support working such as GIS, 3) increasing the time of routine screening for NCDs, and 4) regular meeting with the stakeholders were crucial for NCDs surveillance programme. In conclusion, the surveillance of NCDs programme indicated most of the success required the collaboration of people as well the stakeholders, which involved with health information system including GIS as a tool to support working, therefore policy maker should be concerning the cooperative and using technology to support working.en
dc.description.abstractโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เกิดจากสาเหตุปัจจัยเสี่ยงหลายประการ เป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาคุณภาพชีวิตและต้องดูแลรักษาตามอาการจนกระทั่งเสียชีวิต การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในจังหวัดศรีสะเกษ โดยมีขั้นตอนการศึกษาสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง วิเคราะห์และสรุปปัญหาสาธารณสุขดำเนินการหารูปแบบการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติ การสังเกตการณ์ และการสะท้อนผล ภายใต้การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) เป็นตัวช่วยในการดำเนินงาน กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นสองระยะคือ ระยะศึกษานำร่องเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในจังหวัดศรีสะเกษจำนวน 611,099 คน ระยะที่สองเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเฝ้าระวังกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อร้งของตำบลภูเงิน อำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 13 คน รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากฐานข้อมูลทุติยภูมิจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษภายใต้เครื่องมือขององค์การอนามัยโลก รวบรวมข้อมูลในระยะดำเนินงานโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจกความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไควสแคร์ ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม ทําการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ 49.07 ซึ่งพบว่าปัจจัยด้านปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ สูบบุหรี่ในผู้ชาย (p-value <001), ขนาดรอบเอวเกินในผู้หญิง (p-value <001), มีครอบครัวป่วยโรคเบาหวานในผู้ชาย (p-value <001), มีครอบครัวป่วยโรคความดันโลหิตสูงในผู้ชาย (p-value <001), มีประวัติดื่มแอลกอฮอล์ในผู้ชาย (p-value <001), มีระดับความดันโลหิตที่เสี่ยงในผู้หญิง (p-value <001), มีระดับน้ำตาลในเลือดที่เสี่ยงในผู้หญิง (p-value <001), มีระดับดัชนีมวลกายที่เสี่ยงในผู้หญิง (p-value <001 ) และมีระดับคอเลสเตอรอลที่เสี่ยงในผู้หญิง (p-value <001)  เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ในระดับนัยสำคัญ 0.001 การพัฒนารูปแบบ การเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีขั้นตอน ได้แก่ 1) จัดทำโปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อสนับสนุนการทำงาน เช่น GIS, 3) การเพิ่มจำนวนครั้งในการคัดกรอง โรค NCDs และ 4) การประชุมร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเกี่ยวข้องเป็นสิ่งสำคัญสำหรับโปรแกรมการเฝ้าระวังโรค NCD  ซึ่งกระบวนการดังกล่าว ส่งผลให้การเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีประสิทธิภาพ กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม สรุป การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต้องดำเนินการทั้งด้านระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข และนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือ โดยความร่วมมือกับเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมกลุ่มประชากรth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth
dc.subjectระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์th
dc.subjectรูปแบบการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth
dc.subjectgeographic information systemen
dc.subjectNCDsen
dc.subjectGISen
dc.subjectSurveillance Modelen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleDevelopment of the Surveillance Model for Risk of Noncommunicable Diseases using the Geographic Information System in Si Sa Ket Province, Thailanden
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในจังหวัดศรีสะเกษth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56011460001.pdf7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.