Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThiwaporn Thuayjanen
dc.contributorทิวพร ทวยจันทร์th
dc.contributor.advisorJittima  Prasara-aen
dc.contributor.advisorจิตติมา ประสาระเอth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Environment and Resource Studiesen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:51:02Z-
dc.date.available2019-11-19T09:51:02Z-
dc.date.issued14/8/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/576-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis study compares social performances of conventional and area based sugarcane cultivation using case studies in the Northeastern Thailand, the region having the largest sugarcane plantation area in the country. Social Life Cycle Assessment was used as a technique to assess social performances of various stages in the sugarcane supply chain. The reference unit is 1 rai of sugarcane plantation. Key stakeholder groups examined are workers, local community, farm owners, machine owners and suppliers. Main social issues included in this study are wages, health and safety, discrimination and local employment. This study uses the Performance Reference Points method to assess the social performances. Social Performances are expressed as scores of 0-100. Social performance is classified into 5 color levels, i.e. very good (green), good (light green), medium (yellow), fair (orange) and poor (red). The results of this study show that social performances of conventional and large area based practices are not different. Workers for both practice are in very good condition. Farm owners for both practices are in good condition. Community and society is in a good level. The implementation of the area based approach can improve the social performance of the farm owners in certain issue only i.e. use of bio-agents. The large area based practice is a new policy that needs to be developed to match the context of farmers in the areas studied. Results show that farmers of the "area based approach" has not been able to improve the social performance of farmers in all issues examined because the large area based practice is in the early stage of the project implementation and there are many other aspects that need to be improved.en
dc.description.abstractการศึกษานี้เปรียบเทียบประสิทธิภาพเชิงสังคมตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์อ้อยแบบดั้งเดิมและอ้อยประชารัฐแปลงใหญ่ กรณีศึกษาพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกอ้อยมากที่สุดในประเทศ โดยใช้การประเมินวัฏจักรชีวิตทางสังคมเป็นเทคนิคในการประเมินประสิทธิภาพเชิงสังคมตามแนวทางในคู่มือของ UNEP/SETAC (2009) หน่วยอ้างอิงที่กำหนดคือ 1 ไร่ ของผลิตภัณฑ์อ้อย กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ศึกษา คือ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน ชุมชนและสังคม เจ้าของไร่ เจ้าของเครื่องจักร และซัพพลายเออร์ ประเด็นทางสังคมหลักๆ ที่รวมอยู่ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ค่าแรงที่ยุติธรรม สุขภาพและความปลอดภัย การเลือกปฏิบัติ และการจ้างงานในท้องถิ่น วิธีการประเมินประสิทธิภาพเชิงสังคมในการศึกษานี้ ใช้วิธี Performance Reference Points โดยมีการกำหนดลักษณะทางสังคมโดยแสดงคะแนนจาก 0-100 ประสิทธิภาพเชิงสังคมแบ่งเป็นช่วงสี 5 ระดับ ได้แก่ ดีมาก (เขียวแก่), ดี (เขียวอ่อน), ปานกลาง (เหลือง), พอใช้ (ส้ม) และแย่ (แดง) จากการศึกษาพบว่าค่าประสิทธิภาพเชิงสังคมของแปลงดั้งเดิมและแปลงใหญ่ไม่แตกต่างกัน ประสิทธิภาพเชิงสังคมของกลุ่มแรงงานแปลงดั้งเดิมและแปลงใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดีมาก เจ้าของไร่ของแปลงดั้งเดิมและแปลงใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี และกลุ่มชุมชนและสังคมอยู่ในเกณฑ์ดีทั้งสองแบบ จากการปฏิบัติตามนโยบายแปลงใหญ่ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงสังคมของกลุ่มเจ้าของไร่ได้ในบางประเด็นเท่านั้น คือประเด็นการใช้สารชีวภาพในไร่ แปลงใหญ่เป็นนโยบายใหม่ที่ต้องได้รับการพัฒนาเพื่อให้เข้ากับบริบทของเกษตรกรในพื้นที่ แสดงให้เห็นว่าการรวมกลุ่มเกษตรกรตาม "นโยบายแปลงใหญ่" ยังไม่สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงสังคมของเกษตรกรได้ในทุกประเด็นเนื่องจากโครงการแปลงใหญ่อยู่ในระยะเริ่มต้นของการดำเนินโครงการและยังมีอีกหลายข้อปฏิบัติที่ต้องทำการปรับปรุงth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเปรียบเทียบประสิทธิภาพทางสังคมตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์th
dc.subjectการประเมินวัฏจักรชีวิตทางสังคมth
dc.subjectอ้อยประชารัฐแปลงใหญ่th
dc.subjectค่าประสิทธิภาพทางสังคมth
dc.subjectsocial performancesen
dc.subjectSocial Life Cycle Assessmenten
dc.subjectsugarcaneen
dc.subjectarea based sugarcane plantationen
dc.subjectconventional sugarcane plantationen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleComparison of Life Cycle Social Performance of Conventional and Large Area Based Sugarcaneen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพเชิงสังคมตลอดวัฏจักรชีวิตของอ้อยแบบดั้งเดิมและอ้อยประชารัฐแปลงใหญ่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Environment and Resource Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011751002.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.