Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSunisa Siriraken
dc.contributorสุณิสา ศิริรักษ์th
dc.contributor.advisorKhomgrit Karinen
dc.contributor.advisorคมกริช การินทร์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:52:44Z-
dc.date.available2019-11-19T09:52:44Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/579-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis study based on qualitative research approach by applying ethnomusicology. The aims of the research were 1) To study the adjustment style of Nora Rong Kru Music 2) To study the change of elements of the Nora Rong Kru Music in Kedah State, Malaysia. The research data was collected using fieldwork study during 2015-2017 at Prai-lamai Village, Tungkwai Sub-district, Pendang District, Kedah State, Malaysia by interviewing 2 Nora groups which were Nora Pian La-ongmanee group and Nora Prim La-ongmanee group. The study found that there were 2 factors that made adjustment to Nora Rong Kru Music at Prai-lamai Village. First, the internal factors which were a community belief, an internal context and the lack of music instruments and musicians. Second, the outer factors which were a media, a technology and an external community context. These effected the group adjustment as follow: 1) Woman was allowed to be the group master and played an important part, both music and dance, in the group. 2) There was the attempted to adapt new music style to the group for example using the modern music instruments and adjusting a music style. 3) The group have been hiring the musician from Thailand to respond the need of the audiences and to conserve that kind of music in the show. Those adjustment factors made 3 difference types of change in 2 Nora groups which were 1) Nora Pian La-ongmanee group had studied and made the music instruments by themselves which were Thub, Klong (Drum) and Pee. 2) There was new music instrument added in the groups for example Nora Prim La-ongmanee had added western music instruments (2013-2014) and Nora Pian La-ongmanee group had added Trea Puang in the group. 3) There was music lending from Thailand. Nora Prim La-ongmanee group had took the rhythms from Nang Talung music, Thai folk music, Thai folk-dance music and Thai classical music. This music was played in ritual ceremony.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่อง “ดนตรีโนราโรงครู ในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยดนตรีวิทยา มีความมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาการปรับตัวของดนตรีโนราโรงครู และ 2) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางดนตรีโนราโรงครู ในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย เก็บข้อมูลภาคสนาม ระหว่างปี พ.ศ. 2558-2560 ณ หมู่บ้านปลายระไม ตำบลทุ่งควาย อำเภอเปิ้นดัง รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์โนรา 2 คณะ คือโนราเผี้ยน ละอองมณี และคณะโนราพริ้ม ละอองมณี ผลการวิจัยพบว่า ดนตรีโนราโรงครูของหมู่บ้านปลายระไม มีการปรับตัวจากปัจจัยสำคัญ 2 ประการ คือปัจจัยภายใน ได้แก่ ความเชื่อ บริบทภายในชุมชน การขาดแคลนนักดนตรีและเครื่องดนตรี และปัจจัยภายนอก ได้แก่ สื่อเทคโนโลยี และบริบทชุมชนรอบนอก ส่งผลให้เกิดการปรับตัว ดังนี้ 1) การปรับตัวให้ผู้หญิงสามารถเป็นนายโรง และทำงานในบทบาทสำคัญของดนตรีและการแสดงโนรา 2) มีการทดลองปรับรูปแบบของดนตรีและวงดนตรีเพื่อตอบสนองผู้ฟัง เช่น การเพิ่มเครื่องดนตรีที่ทันสมัย การปรับเพลง 3) มีการว่าจ้างนักดนตรีจากประเทศไทย เพื่อให้ดนตรีสามารถตอบสนองผู้ฟังและยังคงดำรงอยู่ในการแสดงโนรา จากปัจจัยในการปรับตัวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านดนตรีโนราโรงครูใน 3 ลักษณะ จากการดำเนินงานของคณะโนรา 2 คณะที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1) มีการศึกษาการผลิตเครื่องดนตรีใช้เอง ในคณะโนราเผี้ยน ละอองมณี ได้แก่ ทับ กลอง และปี่ 2) มีการเพิ่มเครื่องดนตรีในวง เช่น เครื่องดนตรีสากลในคณะโนราพริ้ม ละอองมณี (ช่วงปีพ.ศ. 2556 - 2557) และแตระพวง ในคณะโนราเผี้ยน ละอองมณี 3) บทเพลง คณะโนราพริ้ม ละอองมณี มีการหยิบยืมบทเพลงที่ใช้บรรเลงจากประเทศไทย ได้มีการนำเอาทำนองเพลงที่ใช้ในการเดินเรื่องของหนังตะลุง เพลงไทยลูกทุ่ง เพลงระบำพื้นบ้านภาคใต้ รวมทั้งเพลงไทยเดิมมาใช้ในการบรรเลงในช่วงของพิธีกรรมth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectดนตรีโนราโรงครูth
dc.subjectการปรับตัวth
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectNora Rong Kru Musicen
dc.subjectadjustmenten
dc.subjectchangeen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleNora Rong Kru Music in Kedah State, Malaysiaen
dc.titleดนตรีโนราโรงครู ในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซียth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56012061004.pdf21.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.