Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/608
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Rujira Budchan | en |
dc.contributor | รุจิรา บุตรจันทร์ | th |
dc.contributor.advisor | Songkramchai Leethongdee | en |
dc.contributor.advisor | สงครามชัย ลีทองดี | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Public Health | en |
dc.date.accessioned | 2020-05-14T06:06:35Z | - |
dc.date.available | 2020-05-14T06:06:35Z | - |
dc.date.issued | 20/9/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/608 | - |
dc.description | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.abstract | Warfarin Clinic is a special health care service system that provided in cardiovascular care group. This action research aimed to develop the quality improvement of care in the warfarin clinic according to the standard of the health regional service system in Buntharik district Hospital, Ubon Ratchathani province. The 86 randomized samples were selected from the stake-holders , patient , relatives and caregivers. Quantitative data were collected and analyzed by using descriptive statistics; percentage, mean, standard deviation and inferential statistics such as Wilcoxon Matched-pairs Signed rank test. Qualitative data collection by group discussion, and interviews approached content analysis to analyses. The research found that there are 7 steps in this study; 1) data collection,2) appointment team, 3) data analysis, 4) planning, 5) plan implementation,6) monitoring and 7) reflection and lessons learnt. After the operation was found that the service providers have increasingly changed their knowledge, participation and satisfaction in service provision. Regard to the patients, there was positive changed in knowledge, behavior and satisfy to care service. And the relatives / caregivers found that there were significant changed in knowledge and satisfaction of care than the beginning of development processes. The number of patients with International Normalize Ratio (INR) in the normal range (Therapeutic Range) increased from 41.67% to 51.28%, as well as we can see the primary model of pharmaceutical care model which based on ECRS principles such as Eliminate, combine, re-arrange and simplify. In summary, the key success factor comprised 1) policy direction to set up a special clinic of warfarin care 2) enhancing and capacity building of care providers with specialized skills and techniques in the multidisciplinary team and 3) retention the functional team on the principle of continuous improvement and participation. | en |
dc.description.abstract | คลินิกวาร์ฟารินเป็นระบบบริการที่จัดขึ้นในสถานบริการเพื่อการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่จะต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษอย่างมีคุณภาพ การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบคุณภาพบริการในคลินิกวาร์ฟารินตามเกณฑ์การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โรงพยาบาลบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี สุ่มตัวอย่างจากจากกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง, ผู้ป่วย และญาติ/ผู้ดูแล จำนวน 86 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานคือ Wilcoxon Matched-pairs Signed rank test เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาคุณภาพครั้งนี้ มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษารวบรวมข้อมูล 2) การแต่งตั้งคณะทำงาน 3) การวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน 4) การวางแผนดำเนินงาน 5) ดำเนินการตามแผน 6) การสังเกต ติดตาม และ 7) ประเมินผล และถอดบทเรียน ภายหลังการดำเนินงานพบว่า กลุ่มผู้ให้บริการมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจในการจัดบริการเพิ่มขึ้น สำหรับกลุ่มผู้ป่วยพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความรู้ พฤติกรรมและความพึงพอใจต่อบริการดีขึ้น และกลุ่มญาติ/ผู้ดูแลพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความรู้ และความพึงพอใจต่อบริการดีขึ้นกว่าก่อนการพัฒนา และพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยที่มีค่าดัชนีวัดความแข็งตัวของเลือด หรือ INR อยู่ในช่วงปกติ ( Therapeutic Range) เพิ่มมากขึ้นจาก ร้อยละ 41.67 เป็น 51.28 รวมทั้งทำให้เกิดการพัฒนารูปแบบการบริบาลทางเภสัชกรรม ตามหลัก ECRS ได้แก่ การตัดขั้นตอน (Eliminate; E) การรวมขั้นตอน (Combine; C) การจัดลำดับ (Rearrange; R) และการทำให้ง่าย (Simplify; S) สรุปได้ว่าปัจจัยด้านความสำเร็จที่สำคัญประกอบด้วย 1) ทิศทางนโยบายในการจัดตั้งคลินิกพิเศษสำหรับการดูแล warfarin 2) การเสริมสร้างศักยภาพของผู้ให้บริการที่มีทักษะและเทคนิคพิเศษในทีมสหสาขาวิชาชีพและ 3) รักษาทีมปฏิบัติงานตามหลักการ การพัฒนาและการมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | รูปแบบการบริบาลทางเภสัชกรรม | th |
dc.subject | การปรับปรุงคุณภาพบริการ | th |
dc.subject | คลินิกวาร์ฟาริน | th |
dc.subject | Pharmaceutical care model | en |
dc.subject | Service Quality improvement | en |
dc.subject | Warfarin Clinic | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | The Quality Improvement Model for the Warfarin Clinic according to Service Plan Criterion in Buntharik Hospital, Ubon Ratchathani Province | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบคุณภาพบริการคลินิกวาร์ฟารินตามเกณฑ์การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โรงพยาบาลบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59051480008.pdf | 6.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.