Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/630
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jurawan Nontapon | en |
dc.contributor | จุฬาวัลย์ นนตะพันธ์ | th |
dc.contributor.advisor | Siwa Kaewplang | en |
dc.contributor.advisor | ศิวา แก้วปลั่ง | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Engineering | en |
dc.date.accessioned | 2020-05-19T06:30:59Z | - |
dc.date.available | 2020-05-19T06:30:59Z | - |
dc.date.issued | 27/1/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/630 | - |
dc.description | Master of Engineering (M.Eng.) | en |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | Monitoring and quantifying suspended sediment concentration (SSC) along the rivers provide important information for reservoir management. Traditional monitoring based on in situ measurements of SSC through in-situ sampling in rivers is expensive and time-consuming to perform. The objective of this study was to use spectral information provided by remote sensing from Sentinel-2 images in combination with machine learning to estimate SSC in the pao river. Three machine-learning regression algorithms (multiple linear regression, deep learning, and Support Vector Machine : SVM) were evaluated and a suitable model created to estimate SSC of the pao river. The results show that the Support Vector Machine model gave the most balanced results, with the lowest RMSE values and a high statistical correlation (R2=0.863 ; RMSE = 11.9) for the whole range of SSC (0 to 90 mg/l) measured at this station during the studied period. The methodology presented in this study can be used as a guideline for the combination of machine learning with Sentinel-2 images for estimating | en |
dc.description.abstract | การติดตามและตรวจวัดค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยมีสำคัญมากสำหรับการจัดการอ่างเก็บน้ำ โดยการตรวจวัดค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยแบบดั้งเดิมต้องใช้การสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำในแม่น้ำซึ่งต้องใช้เวลาและงบประมาณมาก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ข้อมูลสเปกตรัมจากการรับรู้จากระยะไกลจากภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel-2 ร่วมกับการเรียนรู้ของเครื่องจักร (machine learning) เพื่อประมาณค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำปาว โดยใช้อัลกอริทึมแบบถดถอยด้วยการเรียนรู้ของเครื่องจักร 3 วิธี (แบบจำลองเชิงเส้นวางนัยทั่วไป (Generalized Linear Model) การวิเคราะห์โครงข่ายประสาทเทียมเชิงลึก (Deep Learning) และ แบบจำลอง Support Vector Machine : SVM เพื่อประเมินอัลกอริทึมที่เหมาะสมสำหรับประมาณค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยแม่น้ำปาว ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลอง Support Vector Machine ให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยของรากที่สองของกำลังสองของความคลาดเคลื่อน (RMSE) ต่ำที่สุดและมีความสัมพันธ์ทางสถิติสูงที่สุด (R2 = 0.863 ; RMSE = 11.9) สำหรับข้อมูลทั้งหมดของค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำปาว (0 ถึง 90 mg/l) ในช่วงระยะเวลาของการศึกษา วิธีการที่นำเสนอในการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการผสมผสานการเรียนรู้ของเครื่องจักรกับภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel-2 สำหรับการประมาณค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำอื่น ๆ ถึงแม้ว่ายังมีปัจจัยบางอย่างที่มีอิทธิพลที่จำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงความแม่นยำของการประมาณค่าความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การรับรู้ระยะไกล | th |
dc.subject | ดาวเทียม Sentinel-2 | th |
dc.subject | ความเข้มข้นของตะกอนแขวนลอย | th |
dc.subject | การเรียนรู้ของเครื่องจักร | th |
dc.subject | Remote sensing | en |
dc.subject | Sentinel-2 data | en |
dc.subject | Suspended Sediment Concentration (SSC) | en |
dc.subject | Machine learning | en |
dc.subject.classification | Engineering | en |
dc.title | Estimation of Suspended Sediment Concentration along the Pao River using Sentinel-2 Imagery | en |
dc.title | การประมาณค่าปริมาณตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำปาวโดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม sentinel-2 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Engineering |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61010381001.pdf | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.