Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/635
Title: The Developing of Group Counseling Program Based on Reality Theory to Decrease Learning Burnout of University Students
การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริง เพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
Authors: Chaiporn Pongpisanrat
ชัยพร พงษ์พิสันต์รัตน์
Phamornpun Yurayat
ภมรพรรณ์ ยุระยาตร์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การให้การปรึกษากลุ่ม
ทฤษฎีเผชิญความจริง
ความเหนื่อยหน่ายในการเรียน
Group Counseling
Learning Burnout
Reality Theory
Issue Date:  4
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this research were: 1. Study the components of learning burnout in university students. 2. To developing of Group Counseling Program Based on Reality Theory to decrease learning burnout. 3. To compare the use of Group Counseling Program Based on Reality Theory to decrease learning burnout with each session. 4. To assessment the  satisfaction in using Group Counseling Program Based on Reality Theory to decrease learning burnout. The subjects for study the components of learning burnout were 2,000 undergraduate students, select by using Multi-Stage Sampling. The subjects for Developing of Group Counseling Program Based on Reality Theory to Decrease Learning Burnout were 8 undergraduate students, select by using Purposive Sampling and choose students with high learning burnout. The research instrument was an inventory for measure of learning burnout and group counseling program based on reality theory to decrease learning burnout of university students. The statistic data used in analysis are Median, Standard Deviation, Confirmatory Factor Analysis and One-way Repeated Measure MANOVA. The results of the study were as follows: 1. The components of learning burnout of university students was 3 components with 9 indicates. Component 1 Emotional Exhaustion has 4 indicates. Component 2 Depersonalization has 3 indicates. Component 3 Reduced Personal Accomplishment has 2 indicates. 2. The Group Counseling Program Based on Reality Theory to Decrease Learning Burnout of University Students compose of 14 activities: Activity 1 orientation, Activity 2-7 components of Emotional Exhaustion, Activity 8-11 components of Depersonalization, Activity 12-13 components of Reduced Personal Accomplishment and Activity 14 last orientation. 3. The effectiveness of The Group Counseling Program Based on Reality Theory to Decrease Learning Burnout of University Students showed that each pair of Emotional Exhaustion and Depersonalization component have Learning Burnout level with statistically significant differences at the .01. Learning Burnout of Reduced Personal Accomplishment between after counseling and the follow up period have no differences result. 4. The participant in The Group Counseling Program Based on Reality Theory were satisfied at the highest level.
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษา 2. เพื่อพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียน 3. เพื่อเปรียบเทียบผลการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียน 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียน ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาองค์ประกอบเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี 2,000 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) ตัวอย่างที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียน จำนวน 8 คน โดยการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จากกลุ่มที่มีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนสูง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดพฤติกรรมความเหนื่อยหน่ายในการเรียนและโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-way Repeated Measure MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษา พบว่า ความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษามี 3 องค์ประกอบ 9 ตัวบ่งชี้ โดยองค์ประกอบที่ 1 ความอ่อนล้าทางอารมณ์ มี 4 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ความอ่อนล้าทางสภาวะบุคคล มี 3 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 3 ความอ่อนล้าทางผลลัพธ์ของบุคคล มี 2 ตัวบ่งชี้ 2. โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษามีจำนวน 14 กิจกรรม แบ่งเป็นกิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ กิจกรรมที่ 2-7 เป็นองค์ประกอบความอ่อนล้าทางอารมณ์ กิจกรรมที่ 8-11 เป็นองค์ประกอบความอ่อนล้าทางสภาวะบุคคล กิจกรรมที่ 12-13 เป็นองค์ประกอบความอ่อนล้าทางผลลัพธ์ของบุคคล และกิจกรรมที่ 14 ปัจฉิมนิเทศ 3. ผลการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตนักศึกษา พบว่า องค์ประกอบความอ่อนล้าทางอารมณ์ และความอ่อนล้าทางสภาวะบุคคล มีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในส่วนองค์ประกอบความอ่อนล้าทางผลลัพธ์ของบุคคล หลังการทดลองกับหลังติดตามผลมีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนไม่แตกต่างกัน 4. นิสิตนักศึกษาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/635
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010564010.pdf8.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.