Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/636
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Veerapong Tiamvong | en |
dc.contributor | วีระพงษ์ เทียมวงษ์ | th |
dc.contributor.advisor | Karn Ruangmontri | en |
dc.contributor.advisor | กาญจน์ เรืองมนตรี | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-05-19T06:35:11Z | - |
dc.date.available | 2020-05-19T06:35:11Z | - |
dc.date.issued | 28/1/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/636 | - |
dc.description | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.abstract | The study aimed 1) to develop the knowledge management model in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices and 2) to evaluate the knowledge management model in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices. This study was a research and development design which covered 3 phases of the study. Phase 1 was the investigating of the current situation, problems and needs of knowledge management in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices. The samples were 20 of supervisors who work in Buriram primary educational service area office 1-4, 7 people comprised of the director of primary educational service area office, director of supervision, monitoring and evaluation of education management affair, supervisors, school directors and teachers who work in academic department in the area of Nakhon ratchasima, Chaiyaphum, Buriram and Surin province. There was also observation activity in 3 of primary educational service area offices. The instruments used consisted of problem tree, interview questions and observation form. The statistics used to analyze the data were percentage, mean and standard deviation. Phase 2 was the development of knowledge management model in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices. The samples were 7 experts of educational supervision who verified the draft model and 9 experts who confirmed the model. The instrument used was evaluation form. Phase 3 was the evaluation of knowledge management model in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices. The samples were 45 who participated in the study since the beginning of the research project. The results revealed that 1. The results of the development knowledge management model in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices which comprised of 1) the process of knowledge management consisted of 5 steps; knowledge construction, knowledge storage, implementation, knowledge sharing, and knowledge evaluation 2) scopes of supervision, monitoring and evaluation of education management comprised of 5 aspects; research, teaching and learning supervision, learning resources and innovation, facilitating and cooperative working 3) planning of processing consisted of 5 steps; a meeting to examine the current situation, problems and needs of knowledge management, the assigning people based on learning standards, processing followed the handout of knowledge management, a meeting to summarize and review processing based on the learning standards and presentation the results of each aspect of processing. The results of the evaluation yielded that the draft model was relevant and suitable in terms of possibility and benefit. This was ranged in the most level which rated by the experts. 2. The results of using knowledge management model in supervision, monitoring and evaluation of education management under the primary educational service area offices shown that the efficacy and the effectiveness were 85.44 and 80.25 respectively which in accordance with the criteria of 80/80. The participants satisfied with the processes from the beginning of the project, during the project and the end of the project which ranged in the most level of mean. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายหลักเพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ด้านนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยใช้การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยดำเนินการเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1-4 จำนวน 20 คน สัมภาษณ์ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในกลุ่มเครือข่ายการนิเทศ การศึกษาที่ 14 นครชัยบุรินทร์ (นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์) จำนวน 7 คน ศึกษาดูงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนภูมิต้นไม้ (Problem Tree) แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้านการนิเทศการศึกษา เพื่อตรวจสอบร่างรูปแบบ 7 คน และกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิยืนยันรูปแบบ 9 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมิน ระยะที่ 3 การประเมินผลการใช้รูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ร่วมวิจัย ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการวิจัยตั้งแต่ เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการวิจัย จำนวน 45 คน ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วย 1.1 กระบวนการจัดการความรู้ มี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสร้างความรู้ 2) การจัดเก็บความรู้ 3) การนำความรู้ไปใช้ 4) การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ 5) การประเมินผลความรู้ 1.2 กรอบงานด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 5 ด้าน ได้แก่ 1) งานด้านระบบการวิจัย 2) งานด้านระบบการนิเทศการเรียนการสอน 3) งานด้านระบบแหล่งการเรียนรู้และสื่อนวัตกรรม 4) งานด้านระบบอำนวยความสะดวก 5) งานด้านระบบการมีส่วนร่วม 1.3 แผนการดำเนินงาน มี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การประชุมปฏิบัติการเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ 2) การกำหนดทีมตามฐานการเรียนรู้ 3) การดำเนินกิจกรรมตามคู่มือการจัดการความรู้ 4) การประชุมสัมมนา เพื่อสรุปและทบทวนการดำเนินงานตามฐานความรู้ 5) การนำเสนอผลการดำเนินงานของแต่ละฐานความรู้ ผลการประเมินความสอดคล้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ไนทางปฏิบัติ และความเป็นประโยชน์ ของร่างรูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ อยู่ในระดับมากที่สุด 2. ผลการใช้รูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยรวมมีประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ เท่ากับ 85.44/80.25 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ 80/80 โดยทีมที่ร่วมวิจัยมีความพึงพอใจต่อการดำเนินงาน ตั้งแต่เริ่มต้น ระหว่างการดำเนินงาน จนสิ้นสุดโครงการมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนารูปแบบ | th |
dc.subject | การจัดการความรู้ | th |
dc.subject | การนิเทศ ติดตามและประเมินผล | th |
dc.subject | Model Development | en |
dc.subject | Knowledge Management | en |
dc.subject | Supervision Monitoring and Evaluation | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Development of Knowledge Management Model in Supervision, Monitoring and Evaluation of Education Management of the Primary Educational Service Area Office | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010566007.pdf | 10.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.