Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/650
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pornruedee Dongyai | en |
dc.contributor | พรฤดี ดงใหญ่ | th |
dc.contributor.advisor | Sombat Tayraukham | en |
dc.contributor.advisor | สมบัติ ท้ายเรือคำ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-05-19T06:35:13Z | - |
dc.date.available | 2020-05-19T06:35:13Z | - |
dc.date.issued | 30/8/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/650 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study aimed to 1) study about factors: self-esteem, self-confidence, enthusiasm, responsibility, and future orientation of the educational administrators. 2) study about motivation into educational administrators position 3) study the relationships during self-esteem, self-confidence, enthusiasm, responsibility, and future orientation related to motivation into educational administrators position and 4) create the predicted equation motivation into educational administrators position from self-esteem, self-confidence, enthusiasm, responsibility, and future orientation factors. Group of the study were 226 administrators of the Northeastern vocational institutions region under the office of vocational education committee selected by multi-stage sampling. The research instruments were 1) The motivation into educational administrators position factors relationships testing form with discrimination power values (rxy) between 0.239 – 0.537 and entire reliability coefficient (µ) was 0.704. 2) The motivation into educational administrators position testing form with discrimination power values (rxy) between 0.222 – 0.552 and entire reliability coefficient (µ) was 0.748. The statistical devices used for the data analysis were Pearson’s Product Moment Correlation and multiple regression analysis. The result were found: 1. The factors related to motivation into educational administrators position as a whole at high level. The top three of highest average were future orientation, self-esteem, and responsibility. 2. The educational administrators’ motivation into position as a whole at high level, the top three of highest average were affiliation motive, achievement motive and power motive respectively. 3. The factors related to motivation into educational administrators position were self-esteem, self-confidence, enthusiasm and responsibility with a correlation coefficient between 0.030 - 0.752. 4. The predicted equation motivation into educational administrators position including self-esteem, self-confidence, and enthusiasm can predict the educational administrators motivation at 86.90%. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง ความกระตือรือร้น ความรับผิดชอบ และการมุ่งอนาคตของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง ความกระตือรือร้น ความรับผิดชอบ และการมุ่งอนาคต ที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา และ 4) สร้างสมการพยากรณ์แรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาจากปัจจัยด้านความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง ความกระตือรือร้น ความรับผิดชอบ และการมุ่งอนาคต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้อำนวยการและรองผู้อำนวยการ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 226 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนเพื่อให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบวัดปัจจัยที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนก (rxy) ระหว่าง 0.239 – 0.537 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (µ) เท่ากับ 0.704 2) แบบวัดแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนก (rxy) ระหว่าง 0.222 – 0.552 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (µ) เท่ากับ 0.748 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation Analysis) และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวม อยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดสามอันดับ เรียงตามลำดับ ได้แก่ ด้านการมุ่งอนาคต ด้านความภาคภูมิใจในตนเอง และด้านความรับผิดชอบ 2. ผู้บริหารสถานศึกษามีระดับแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลำดับ ได้ดังนี้ ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และด้านแรงจูงใจใฝ่อำนาจ 3. ปัจจัยด้านความภาคภูมิใจในตนเอง ด้านความเชื่อมั่นในตนเอง ด้านความกระตือรือร้น และด้านความรับผิดชอบ มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม คือ แรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง 0.030 – 0.752 4. สมการพยากรณ์แรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย ปัจจัยด้านความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง และความกระตือรือร้น โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์แรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาได้ 86.90% | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | แรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่ง | th |
dc.subject | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจ | th |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา | th |
dc.subject | Motivation into Position | en |
dc.subject | Factors Related to Motivation | en |
dc.subject | Educational Administrators | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Factors Related to Motivation into Educational Administrators Position under Office of the Vocational Education Commission, Northeastern Region | en |
dc.title | ปัยจัยที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010586041.pdf | 2.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.