Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/655
Title: The Stuggle of Life
การดิ้นรนของชีวิต
Authors: Wanchai Boonying
วันชัย บุญยิ่ง
Boontan Chetthasurat
บุญทัน เชษฐสุราษฎร์
Mahasarakham University. The Faculty of Fine and Applied Arts
Keywords: การดิ้นรน
ชีวิต
ดุนโลหะ
นูนต่ำ
Struggles
Life
Metal Embossing
Bas rilief
Issue Date:  6
Publisher: Mahasarakham University
Abstract:   The objectives of visual art work “The struggles of life” were to learn about the motion of life and to create the metal embossed visual artwork which expressed by human actings: scramble, survival and struggling. The operation of this creation was collecting documentary data about social environment and places all over the world that had problems such as the economic downturn, jam-packed transportation, starvation, war and related theoretical concepts both art theory: texture, shape, rhythm, movement, principles of living life, religious teachings and artistic Influences of Vichoke Mukdamanee, Eknarin Kloewklong and Kasemsun Yodsanga. All the data was analyzed in order to find out the clarity of theme, concept, form and technique. Created the 4 unique pieces of artworks by using visual elements, visual art technique and principle of visual art to respond the concept.   The results of creating artworks that present stories of life. Expressed through human shapes that show struggling to survive of human. By creating texture, shape, convexity and pressure that showed the action, consistency of the rhythm, movement and shapes to show the misery and striving of human in the whole world. These artworks created the new unique discoveries.
   วิทยานิพนธ์การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เรื่อง การดิ้นรนของชีวิต มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาจังหวะการเคลื่อนไหวของชีวิตและเพื่อสร้างสรรค์ผลงานสลักดุนโลหะ แสดงออกผ่านรูปทรงของมนุษย์ที่แสดงออกถึงการยื้อแย่งแข่งขัน การเอาตัวรอด การดิ้นรน  มีวิธีดำเนินการสร้างสรรค์โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารเกี่ยวกับเรื่องราวของสังคมในสภาพแวดล้อมรอบตัวและสถานที่ต่าง ๆ ทั่วโลก ที่เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ การยื้อแย่งเบียดเสียดบนรถโดยสาร ความอดอยาก สงคราม  และแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องทั้งทฤษฎีทางศิลปะเรื่องของพื้นผิว รูปทรง จังหวะการเคลื่อนไหว หลักแนวทางการใช้ชีวิต คำสอนทางศาสนา และอิทธิพลทางผลงานศิลปกรรมของ วิโชค มุกดามณี, เอกณริน แคล่วคล่อง, เกษมสันต์ ยอดสง่า วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความชัดเจนของแนวเรื่อง รูปทรงสัญลักษณ์ และเทคนิคกลวิธี สร้างสรรค์โดยใช้ทัศนะธาตุ วัสดุกลวิธีและหลักการทางทัศนศิลป์ เพื่อตอบสนองแนวความคิด เป็นผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตน  จำนวน 4 ชิ้น   ผลการสร้างสรรค์ พบว่า การสร้างสรรค์ผลงานที่นำเสนอเรื่องราวของชีวิต แสดงออกผ่านรูปทรงมนุษย์ที่แสดงถึงการต่อสู้ดิ้นรนเพื่อที่จะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ โดยการสร้างพื้นผิว รูปทรง ที่นูน ลึก  ให้ความรู้สึกถึงความแออัด เบียดเสียด ยื้อแย่งแข่งขัน สอดคล้องกับจังหวะความเคลื่อนไหวของรูปทรง สื่อถึงความทุกข์ยาก การดิ้นรนของสรรพชีวิตที่เกิดมาบนโลก ผลจากการสร้างสรรค์ดังกล่าวก่อให้เกิดข้อค้นพบใหม่ที่มีลักษณะเฉพาะตน
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/655
Appears in Collections:The Faculty of Fine and Applied Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010650003.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.