Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSomruedee Pinthongen
dc.contributorสมฤดี  พิณทองth
dc.contributor.advisorRungtip Charoensaken
dc.contributor.advisorรุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Informaticsen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:44:29Z-
dc.date.available2020-05-19T06:44:29Z-
dc.date.issued30/11/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/671-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study Conditions and needs for One Stop Service of Rajabhat University Library to promote the development of academic works. 2) to development of One Stop Service Model of Rajabhat University Library to promote the development of academic works. The research population was 38 chief information officers of Rajabhat University's library and 17,944 lecturers of Rajabhat University. sample was 377 lecturers of Rajabhat University using the stratified random sampling. Data were collected by using online questionnaires. The statistics used for data analysis were frequency distributions, percentage, mean, standard deviation, SPSS, and factor analysis.   The results revealed that most chief information officers were female, aged between 41-45 years and graduated master's degree and had 11-15 years of working experience. Conditions and needs for One Stop Service of the Rajabhat University library were at the moderate level by descending order as follows: a service provider, a location and an environment, information resources and information technology, services, and the least was management. needs of One Stop Service of the Rajabhat University library of all chief information officers were at the highest level in all aspect by descending order as follows: information technology, services, a location and an environment, management and the least were a service provider. General information of the lecturers was mostly females aged 36-40 years and graduated master's degree level and most of them were professors with 6-10 years of working experience and still working on academic works which mostly were teaching documents followed by researches, textbooks, and the least was the teaching document related to the conditions of One Stop Service of the Rajabhat University libraries of the lecturers found that was at the moderate level in all aspect by descending order as follows: a service provider, information technology, a location and an environment and the least was management. needs of One Stop Service of the Rajabhat University library of all lecturers were at the highest level in all aspect by descending order as follows: services, information technology, a location, and an environment, a service provider and the least were information resources. The development of One Stop Service Model of Rajabhat University Library to promote the development of academic works. which is the factor of One Stop Service of the Rajabhat university's library to promote the development of academic works consisting of 12 factors which were 1) input 6 factors include competency of personnel in terms of knowledge and skills, competency of personnel in terms of characteristics, a location, facilities, information resources, information technology. 2) process 3 factors include One Stop Service, public relations, rules and regulations and 3) output 3 factors include consulting services, proactive services, services to development of academic works. en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพและความต้องการการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการ ประชากร คือ หัวหน้างานบริการสารสนเทศ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน 38 แห่ง จำนวน 38 คน และอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน 17,944 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางของเครซี่และมอร์แกน จำนวน 377 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ปัจจัย ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปของหัวหน้างานบริการ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 41-45 ปี การศึกษาระดับปริญญาโท และมีประสบการณ์ 11-15 ปี สภาพของการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏของหัวหน้างานบริการ พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปหาน้อย คือ ด้านผู้ให้บริการ ด้านสถานที่และสภาพแวดล้อม ด้านทรัพยากรสารสนเทศ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริการ และน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหาร ความต้องการการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏของหัวหน้างานบริการ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริการ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านสถานที่และสภาพแวดล้อม ด้านการบริหาร และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านผู้ให้บริการ และข้อมูลทั่วไปของอาจารย์ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 36-40 ปี การศึกษาระดับปริญญาโท มีตำแหน่งเป็นอาจารย์ มีประสบการณ์ 6-10 ปี และกำลังดำเนินการทำผลงานทางวิชาการส่วนใหญ่เป็นเอกสารประกอบการสอน รองลงมา คือ งานวิจัย ตำรา และน้อยที่สุด คือ เอกสารคำสอน สภาพของการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏของอาจารย์ พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้ให้บริการ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านสถานที่และสภาพแวดล้อม ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และน้อยที่สุด คือ ด้านการบริการ ความต้องการการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏของอาจารย์ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านสถานที่และสภาพแวดล้อม ด้านผู้ให้บริการ และด้านที่น้อยที่สุด คือ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ การพัฒนารูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการ องค์ประกอบของการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการ ประกอบด้วย 12 องค์ประกอบ ซึ่งเป็น 1) ปัจจัยนำเข้า 6 องค์ประกอบ ได้แก่ สมรรถนะของบุคลากรด้านความรู้และทักษะ สมรรถนะของบุคลากรด้านคุณลักษณะ สถานที่ให้บริการ สิ่งอำนวยความสะดวก ทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) กระบวนการ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ลักษณะการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ การประชาสัมพันธ์ และกฎระเบียบข้อบังคับ และ 3) ผลผลิต 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การบริการให้คำปรึกษา การบริการเชิงรุก และการบริการเพื่อพัฒนาผลงานทางวิชาการth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการบริการแบบเบ็ดเสร็จth
dc.subjectผลงานทางวิชาการth
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏth
dc.subjectOne Stop Serviceen
dc.subjectAcademic Worksen
dc.subjectRajabhat Universityen
dc.subject.classificationMultidisciplinaryen
dc.titleDevelopment of One Stop Service Model of Rajabhat Universities Libraries for Development of Academic Works Promotionsen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57011283006.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.