Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/672
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ruttaphon Noppavong na ayutthaya | en |
dc.contributor | รัฐพล นพวงศ์ ณ อยุธยา | th |
dc.contributor.advisor | Khacharit Liumthaisomg | en |
dc.contributor.advisor | คชากฤษ เหลี่ยมไธสง | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Informatics | en |
dc.date.accessioned | 2020-05-19T06:44:29Z | - |
dc.date.available | 2020-05-19T06:44:29Z | - |
dc.date.issued | 3/10/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/672 | - |
dc.description | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | Nowadays, there is a small number of modern media used for teaching in the schools for special children. Unfortunately in terms of learning alphabets, the children are still learning by recitation which is an uninteresting approach for the children with learning disability. Additionally, their writing practice is still unorganized so they normally write the alphabets reversely which is an incorrect order for writing. In this regard, this study was conducted to develop a 2-D computer game to promote the alphabet memorization of the children with learning disability in which the research methodology was based on a Human-Centered Design (HCD) theory with 6 steps including exploring the problem, collecting the data, analyzing the data, designing and developing the media, implementing the media, evaluating, and revising and finalizing the media. The sample group consisted of 10 children with learning disability selected by a purposive sampling method. The study outcome indicated that after trying out the 2D computer game, 80% of the children had developed a better memorization as their satisfaction on the game was rated the highest. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ 2 มิติเพื่อส่งเสริมความจำตัวอักษรภาษาไทยสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ จากการศึกษาพบว่า ในปัจจุบันการนำเอาสื่อสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนของโรงเรียนสำหรับเด็กพิเศษนั้นมีอยู่จำนวนน้อย โดยเฉพาะการเรียนการสอนด้านพยัญชนะไทยยังคงใช้การท่องจำ ไม่ดึงดูดความสนใจแก่เด็กที่มีความบกพร่องต่อการเรียนรู้ และการฝึกเขียนตัวพยัญชนะของเด็กกลุ่มนี้ยังไม่เป็นลำดับขั้นตอนโดยเขียนจากหลังไปหน้าซึ่งเป็นการเขียนที่ผิดเนื่องจากเด็กกลุ่มนี้ยังไม่สามารถแยกตัวอักษรภาษาไทยที่มีลักษณะคล้ายกันได้ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ 2 มิติเพื่อส่งเสริมความจำตัวอักษรภาษาไทยสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎี Human center design (HCD) มาเป็นกรอบแนวคิดหลักในการพัฒนาวิธีดำเนินการวิจัย ซึ่งมี 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย การศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาออกแบบสื่อ การทดลองใช้ การปรับปรุงสื่อให้เป็นฉบับสมบูรณ์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในกลุ่มทดลอง ได้แก่เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ จำนวน 10 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างมการจดจำได้ดีกว่าก่อนการทดลอง คิดเป็นร้อยละ 80 และกลุ่มตัวอย่างยังชื่นชอบเกมคอมพิวเตอร์ 2 มิติที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การจำ | th |
dc.subject | เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ | th |
dc.subject | ตัวอักษรภาษาไทย | th |
dc.subject | มนุษย์เป็นศูนย์กลางของการออกแบบ | th |
dc.subject | Memorizing | en |
dc.subject | Children with Learning Disability | en |
dc.subject | Thai Alphabet | en |
dc.subject | Human-Centered Design | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The development of 2D computer game to promote Thai alphabet memorization of the children with learning disability | en |
dc.title | การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ 2 มิติเพื่อส่งเสริมความจำตัวอักษรภาษาไทยสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Informatics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58011280503.pdf | 5.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.