Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/673
Title: The development of tourism public relations based on the community based tourism concept
การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยใช้แนวคิดชุมชนเป็นฐาน
Authors: Siriprapa Prapakornkiat
ศิริประภา ประภากรเกียรติ
Ratanachote Thienmongkol
รัตนโชติ เทียนมงคล
Mahasarakham University. The Faculty of Informatics
Keywords: การท่องเที่ยวโดยชุมชน
มนุษย์เป็นศูนย์กลางของการออกแบบ
สื่อต้นแบบ
OTOP นวัตวิถี
Community-based tourism
Human-centered Design
The Prototype Media
OTOP Nawat Withi
Issue Date:  3
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aimed to 1) study and analyze the key tourism information of Ban Don Mong based on the CBT concept, 2) develop the media to promote the prototype tourism and 3) evaluate the media quality and the participant’s satisfaction on the prototype media. The sample group consists of; specialists, local government, community representatives and media user agent and the sample groups. The research instruments were 1) observation form 2) In-depth interview 3) focus group 4) media user interview 6) media quality evaluation and 7) satisfaction evaluation. The research found;1) The components of tourism data divided into 3 parts such; first the farming and weaving is the key occupations. Second, the community is ready for tourists but they lack of effective public relations (PR) media and third, way of life in community is conservative village. 2) The key medias of PR are the Ban Don Mong map brochure and the 2 part of video. 3) the evaluative result of media quality from 17 key Informants are very good level (x̄ = 4.61). Meanwhile, the satisfaction assessment from 100 tourists are very good level (x̄ = 4.65).
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญด้านการท่องเที่ยวบ้านดอนโมง บนพื้นฐานแนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT) 2) เพื่อพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวต้นแบบให้กับบ้านดอนโมง และ 3) เพื่อประเมินคุณภาพและความพึงพอใจของสื่อต้นแบบที่พัฒนาขึ้น ในกรณีศึกษาเขตพื้นที่บ้านดอนโมง กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ, กลุ่มตัวแทนภาครัฐ, กลุ่มตัวแทนชุมชน และกลุ่มตัวแทนผู้ใช้สื่อ และ 2) กลุ่มตัวอย่าง 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสังเกตการณ์ 2) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3) แบบสนทนากลุ่ม 4) แบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวแทนผู้ใช้สื่อ 5) สื่อต้นแบบ 6) แบบประเมินคุณภาพสื่อ และ 7) แบบประเมินความพึงพอใจ จากผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของข้อมูลการท่องเที่ยว แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย 1) วิถีเกษตร อาชีพหลัก อาชีพเสริม 2) วิถีการท่องเที่ยว มีความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว แต่ขาดสื่อประชาสัมพันธ์ และ 3) วิถีชีวิตและวัฒนธรรม มีลักษณะชุมชนเข้มแข็ง และอนุรักษ์วัฒนธรรมในชุมชน 2) สื่อต้นแบบบ้านดอนโมงที่ผลิต คือ แผ่นพับแผนที่อินโฟกราฟิก แผนที่การท่องเที่ยว และวีดีโอประชาสัมพันธ์ 2 ตอน และ 3) ผลการประเมินด้านคุณภาพสื่อจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 17 คน โดยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก (x̄ = 4.61) และผลการประเมินความพึงพอใจโดยกลุ่มนักท่องเที่ยวตัวอย่าง 100 คน โดยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก (x̄ = 4.65)
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/673
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011280010.pdf9.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.