Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/674
Title: | Development of learning media for drug abuse resistance education program (D.A.R.E.) การประยุกต์ใช้การออกแบบแบบมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาชุดการเรียนสำหรับหลักสูตรโครงการการศึกษาเพื่อต่อต้านการใช้ยาเสพติดในเด็กนักเรียน |
Authors: | Siwadol Papirom ศิวดล ภาภิรมย์ Pongpipat Saithong พงษ์พิพัฒน์ สายทอง Mahasarakham University. The Faculty of Informatics |
Keywords: | ชุดการเรียนรู้ หลักสูตรโครงการ D.A.R.E ยาเสพติด การออกแบบแบบมีส่วนร่วม Learning Package D.A.R.E Program Drugs Participatory Design |
Issue Date: | 11 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This study aimed to: 1) to study the use of educational media for D.A.R.E. program; 2) create and develop a learning package for D.A.R.E. program; and 3) The perception and the satisfaction of the students to the media, Learning packages for D.A.R.E. program. The sample group comprised: 1) 8 key informants to provide the information of D.A.R.E. program; 2) 47 students joining the program; 3) 6 students who did not join the program; and 4) 3 specialist for learning package assessment. Several instruments were used in this study including: 1) Semi-structured interview form; 2) Student’s need questionnaire; 3) D.A.R.E. learning package; 4) Unstructured interview form; 5) Media quality assessment form; 6) Student’s perception evaluation form; and 7) Student’s satisfaction evaluation form. The study outcomes were listed below.
1. The key informants involved in D.A.R.E. program similarly agreed that the program’s content that was applicable for the development of the learning package were: 1) Cigarette; 2) Marijuana; 3) Liquor; and 4) Amphetamine.
2. The key components for developing a learning package based on a participatory design theory consisted of: 1) Media type that should be suitable and consistent with the content of D.A.R.E. program, Motion graphic, Infographic QR code book, Publicity poster of D.A.R.E. program; and 2) Media Design that should be appropriate for developing a learning package, Cartoon character pattern, Cartoon character proportion, Costumes cartoon character, Scene, and Color.
3. Due to the specialist’s assessment, D.A.R.E. learning package was rated averagely 4.3 affirming a good quality of the package; meanwhile, the student’s perception on the learning package was rated averagely 2.95 indicating a high level of perception. In the same vein, the student’s satisfaction was rated averagely 2.91 indicating their high satisfaction.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาการใช้สื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. 2) ออกแบบและพัฒนาชุดการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. และ 3) ประเมินการรับรู้และความพึงพอใจของนักเรียนหลังทดลองใช้ชุดการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ 1)กลุ่มผู้ที่มีส่วนสำคัญในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. จำนวน 8 คน 2) นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ D.A.R.E. จำนวน 47 คน 3) นักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ D.A.R.E. จำนวน 6 คน และ 4) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการประเมินคุณภาพชุดการเรียนรู้ จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2) แบบสอบถามความต้องการ 3) ชุดการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. ผลการวิจัย 4) แบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง 5) แบบประเมินคุณภาพ 6) แบบประเมินการรับรู้ และ 7) แบบประเมินความพึงพอใจ พบว่า 1. กลุ่มผู้ที่มีส่วนสำคัญในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. มีความเห็นว่า เนื้อหาข้อมูลในหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. ที่มีความเหมาะสมกับการพัฒนาชุดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) บุหรี่ 2) กัญชา 3) สุรา และ 4) ยาบ้า 2. องค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาชุดการเรียนรู้ คือ 1) ประเภทสื่อที่มีความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับเนื้อหาของหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. ประกอบด้วย สื่อโมชันกราฟิก หนังสืออินโฟกราฟิกคิวอาร์โค้ด และโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์หลักสูตรโครงการ D.A.R.E. 2) องค์ประกอบทางด้านการออกแบบ ประกอบด้วย รูปแบบตัวการ์ตูน สัดส่วนตัวการ์ตูน การแต่งกาย ฉากและสี 3. การประเมินคุณภาพชุดการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรโครงการ D.A.R.E. จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ มีคะแนนเฉลี่ย 4.36 ซึ่งอยู่ในระดับมีคุณภาพดี การประเมินการรับรู้ของนักเรียนต่อการใช้ชุดการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ย 2.95 ซึ่งอยู่ในระดับมีการรับรู้มาก และการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ชุดการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ย 2.91 ซึ่งอยู่ในระดับมีความพึงพอใจมาก |
Description: | Master of Science (M.Sc.) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/674 |
Appears in Collections: | The Faculty of Informatics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59011280011.pdf | 8.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.