Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTruengtra Poamaden
dc.contributorตรึงตรา โพธิ์อามาตร์th
dc.contributor.advisorNiruwan Turnbullen
dc.contributor.advisorนิรุวรรณ เทิร์นโบล์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:48:30Z-
dc.date.available2020-05-19T06:48:30Z-
dc.date.issued28/11/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/684-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractStroke patients are required to access the service through the emergency medical service system because the care for stroke patients required a clear durtion of the standardization.This research is an action research aims to develop a model for accessing emergency medical services for stroke patients in the area Mueang Suang subdistrict Mueang Suang District,Roi Et.The sample group consisted of 21 stakeholders and caregivers of stroke patients participating in the workshops and group discussions to find the forms of access to emergency medical services together with the knowledge and attitude interview of 91 hypertension patients about stroke and emergency medical service of  Chronic Disease Clinic Mueang Suang Hospital.Using the structured interviews with the quality of confidence for knowledge,attitude and satisfaction for the activities after participation the programme with score 0.83,0.84,0.88 respectively. The results of the study showed that the emergency medical service access model,for the practice of emergency medicine outside the hospital,has established guidelines for caring for stroke patients testing by the Cincinnati Basic Stroke Assessment tool and the LAPSS asessment form to evaluation of the emergency medicine operations,including the care from healthcare professional in local community and out-patients who suspected the stroke,including regulation the guideline of screening and care for outpatients at the hospital as well as for sustainable improving the public relations of emergency medical services and emergency stroke in the community.It was also found that the patients with hypertension who participated in the activities were mostly female,age older than 60 years,prior attending the programme,which have a low level of stroke knowledge and knowledge of emergency medical services,and high level scores after attending the programme.The attitude and belief before development were at a fair level,the have a good level after attending.In addition the satisfaction with the activities has also at the highest level. In conclusion the development of emergency medical service forms programme makes emergency medical operations clear and standardization using the screening for stroke patients since early the accident,therefore that patients can receive care via the special expressway system in a timely manner,creating the confidence in the service for both the clients and the service providers.Further there should be public relations to continuously communicate the information to raise awareness about stroke and emergency medical services.en
dc.description.abstractผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีความจำเป็นในการเข้าถึงบริการด้วยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเนื่องจากการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต้องใช้ระยะเวลาที่ชัดเจน รวดเร็วและได้มาตรฐาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่ตำบลเมืองสรวง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยได้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 21 คน ในการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการและสนทนากลุ่ม เพื่อหารูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินร่วมกัน และสัมภาษณ์ด้านความรู้ ทัศนคติด้านโรคหลอดเลือดสมองและการบริการการแพทย์ฉุกเฉินในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจากคลีนิคโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลเมืองสรวง จำนวน 91 คน ด้วยเครื่องมือที่ทดสอบคุณภาพด้านความเชื่อมั่น ด้านความรู้ ทัศนคติ และความพึงพอใจกับกิจกรรมที่ดำเนินการ ที่ระดับ 0.83,0.84,0.88 ตามลำดับ โดยการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของครอนบาค (Cronbach's Alpha Coefficient) ในการทดสอบ ผลการวิจัยพบว่า จากการประชุมเชิงปฏิบัติการและสนทนากลุ่ม รูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินในส่วนของการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลได้กำหนดแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโดยมีการใช้เครื่องมือแบบประเมินอาการโรคหลอดเลือดสมองเบื้องต้น Cincinnati และปรับปรุงแบบประเมิน LAPSS มาใช้ในการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินรวมถึงการดูแลในชุมชนของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ในกรณีที่มีผู้ป่วยมีอาการนำสงสัยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับการคัดกรองและดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล รวมถึงปรับปรุงการประชาสัมพันธ์การบริการการแพทย์ฉุกเฉินและภาวะฉุกเฉินโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนให้มีความต่อเนื่อง และจากการทำกิจกรรมในคลีนิคโรคเรื้อรังพบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ีความรู้โรคหลอดเลือดสมองและความรู้เกี่ยวกับบริการการแพย์ฉุกเฉินก่อนพัฒนาอยู่ในระดับต่ำ หลังพัฒนาอยู่ในระดับสูง มีทัศนคติและความเชื่อก่อนพัฒนาอยู่ในระดับพอใช้ หลังพัฒนาอยู่ในระดับดี และมีความพึงพอใจกับกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด สรุปการพัฒนารูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินทำให้การปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินมีความชัดเจนและมีมาตรฐาน โดยคัดกรองผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตั้งแต่ที่เกิดเหตุเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาด้วยระบบทางด่วนพิเศษอย่างทันท่วงที สร้างความเชื่อมั่นในบริการทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ และควรมีการประชาสัมพันธ์เพื่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความตระหนักรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองและการบริการการแพทย์ฉุกเฉินth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectบริการการแพทย์ฉุกเฉินth
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองth
dc.subjectEmergency Medical Serviceen
dc.subjectStrokeen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Model Development for Emergency Medical Service Accessibility among Stroke Patient in the Area Mueang Suang, Mueang Suang District, Roi Et Provinceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขตพื้นที่ตำบลเมืองสรวง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011480009.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.