Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPran Sukumolananen
dc.contributorปราณ สุกุมลนันทน์th
dc.contributor.advisorSumattana Glangkarnen
dc.contributor.advisorสุมัทนา กลางคารth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:48:30Z-
dc.date.available2020-05-19T06:48:30Z-
dc.date.issued21/11/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/685-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis was an action research which purpose was to develop malaria elimination in resurgence area according to the strategy of malaria elimination village model. The samples consisted of two groups, a first group was 35 people of the malaria elimination team and a second was 35 community people. Data was collected by focus groups, observation and interviews. Data analysis used descriptive statistics such as percentage, mean, standard derivation. The results found the develop malaria elimination in resurgence area according to the strategy of malaria elimination village model followed these steps; 1. malaria context analysis, 2. malaria elimination team setting, 3. communication of the strategy, 4. problem analysis and plan setting, 5. plan operating, 6. monitoring and supporting, and 7. reflexing. Consequently, the knowledge of people in malaria was improved at the moderate level and also the practice in malaria elimination. The guidelines of malaria elimination village model consisted of 5 complements; Co-working team, .Communication guideline of malaria elimination, Supporting operations, Operational Monitoring and Evaluation of malaria elimination.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการกำจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่แพร่เชื้อซ้ำตามยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลห้วยแย้ อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มเป้าหมาย มี 2 กลุ่ม คือ คณะกรรมการหมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 35 คน และประชาชน 54 คน วิธีการศึกษาใช้การสนทนากลุ่ม สังเกต และสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาการกำจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่แพร่เชื้อซ้ำตามยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรีย มีขั้นตอน คือ 1. ศึกษาบริบทในด้านการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 2. จัดตั้งคณะกรรมการหมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 3. ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 4. วิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการดำเนินงาน 5. ปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ 6. นิเทศ ติดตาม สนับสนุน และให้คำแนะนำการดำเนินงาน และ 7. ร่วมกันถอดบทเรียน การพัฒนาฯ ดังกล่าวส่งผลให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้มาลาเรียในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และการกำจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่กลับมาแพร่เชื้อซ้ำตามยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรียของประชาชนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง แนวทางการกำจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่แพร่เชื้อซ้ำตามยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรีย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ สร้างคณะกรรมการหรือแกนนำ ถ่ายทอดแนวทางการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย สนับสนุนการดำเนินงานกำจัดโรคไข้มาลาเรีย ติดตามการกำจัดโรคไข้มาลาเรียในชุมชน ประเมินผลการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาการดำเนินงานth
dc.subjectหมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรียth
dc.subjectปลอดโรคth
dc.subjectDevelopment of operationsen
dc.subjectMalaria elimination villageen
dc.subjectDisease freeen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleMalaria Elimination in Resurgence Disease Area According to the Strategy of Malaria Elimination Village Modelen
dc.titleการกำจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่แพร่เชื้อซ้ำตามยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบกำจัดโรคไข้มาลาเรียth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011480015.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.