Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatsachon Lunawanen
dc.contributorวรรษชล ลุนาวันth
dc.contributor.advisorBuavaroon Srichaikulen
dc.contributor.advisorบัววรุณ ศรีชัยกุลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:48:30Z-
dc.date.available2020-05-19T06:48:30Z-
dc.date.issued9/9/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/687-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this quasi-experimental research with two group design was to application of self-regulation theory In changing dental care behaviors of the elderly in Wang Yang Subdistrict, Wang Yang District, Nakhon Phanom Province. The sample was 66, divide into the experimental and control group, 33 subjects in each group. the control group received routine nursing care while the experimental group received self-regulation program with dental care. The program consisted of 1) self-observation 2) self-judgment 3) self-reaction. The tools for data collection included: demographic data questional, Self-efficacy expectations in the result of self-practice and self-practice in changing teeth care behavior data were collected after the experiment in week 8, analyzed by using descriptive statistics. And inferential statistics, statistics for testing the difference of mean scores by statistics Paired Sample t-test and Independent Sample t-test.The results of study revealed that: The experimental group had the mean scores of self - efficacy. Expectations and behaviors in adjusting greasy, dental care behaviors More than before the experiment were the significant difference at .05 level and after joining the oral health care program The elderly in the experimental group had less amount of plaque than before. Participation in the program And less than the control group were the significant difference at .05 level.Using the application of self-theory theory in changing dental care behaviors of the elderly consistent with the hypothesis set in the direction that tests that the results of the application program for self-regulation theory In changing dental care behaviors of the elderly, resulting in the elderly having self-efficacy There is an expectation on the outcome of the operation and practice behaviors in dental health care were better than before the experiment with the reduced plaque volume confirming the program's effectiveness. The self-regulation theory is to encourage the elderly to be able to direct oneself to be able to change their behaviors for good by themselves. Therefore, it should be promoted regularly.en
dc.description.abstractการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพช่องปาก โดยการประยุกต์ทฤษฎีการกำกับตนเอง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลรักษาฟันของผู้สูงอายุในตำบลวังยาง อำเภอวังยาง จังหวัดนครพนม กล่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุในตำบลวังยาง คัดเลือกตามเกณฑ์ จำนวน 66 คน แบ่งป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 33 คน โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมการดูแลสุขภาพช่องปากโดยประยุกต์ทฤษฎีการกำกับตนเองและกลุ่มควบคุมให้บริการตามปกติ ระยะเวลา 8 สัปดาห์ ประกอบด้วย 1) การสังเกตตนเอง2) การตัดสินตนเอง3) การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป การรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลของการปฏิบัติตน และการปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลรักษาฟัน เก็บรวบรวมข้อมูลหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 8 วิเคราะหข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานสถิติสำหรับทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยสถิติ Paired Sample t-test และ Independent Sample t-test  ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังและการปฏิบัติตัวในการปรับเลี่ยนพฤติกรรมการดูแลรักษาฟัน มากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ภายหลังได้เข้าร่วมโปรแกรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีปริมาณคราบจุลินทรีย์น้อยกว่าก่อน การเข้าร่วมโปรแกรม และน้อยกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ภายหลังการใช้โปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีการกำกับตนเอง ในปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลรักษาฟันของผู้สูงอายุ สอดคล้องตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ในทิศทางที่ทดสอบว่า ผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีการกำกับตนเอง ในปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลรักษาฟันของผู้สูงอายุส่งผลให้ผู้สูงอายุมีการรับรู้ความสามารถตนเอง มีความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฏิบัติ และพฤติกรรมการปฏิบัติในการดูแลทันตสุขภาพดีขึ้นกว่าก่อนการทดลอง โดยมีปริมาณแผ่นคราบจุลินทรีย์ที่ลดลงเป็นตัวยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรม ซึ่งทฤษฎีการกำกับตนเองเป็นการส่งเสริมเพื่อให้ผู้สูงอายุปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ถูกต้องและเหมาะสมได้ด้วยตนเอง ดังนั้นจึงควรมีการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอต่อไป th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพช่องปากth
dc.subjectทฤษฎีการกำกับตนเองth
dc.subjectการรับรู้th
dc.subjectความคาดหวังต่อการปฏิบัติตัวth
dc.subjectการปฏิบัติตัวในการปรับเปลี่นพฤติกรรมth
dc.subjectSelf-efficacyen
dc.subjectExpectations in the result of self-practiceen
dc.subjectself-practice in changing teeth care behavioren
dc.subjecthealth careen
dc.subjectSelf-praticeen
dc.subjectself-regulation theoryen
dc.subjectHealth careen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Effects of Oral Health Care and Application of Self-Regulation Theory on Change Dental Selfcare  Behavior of Elderly in Wang Yang Subdistrict, Wang Yang District, Nakhon Phanom Provinceen
dc.titleผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพช่องปาก โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการกำกับตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลรักษาฟันของผู้สูงอายุในเขตตำบลวังยาง อำเภอวังยาง จังหวัดนครพนมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60051480003.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.