Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/688
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChanokporn Pumkareeen
dc.contributorชนกพร ภูมิการีย์th
dc.contributor.advisorVorapoj Promasatayaproten
dc.contributor.advisorวรพจน์ พรหมสัตยพรตth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:48:31Z-
dc.date.available2020-05-19T06:48:31Z-
dc.date.issued23/10/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/688-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis study Action Research to The Development of Medical Service Reimbursement in Diagnosis Related Group of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital Ubonratchathani Province. Apply PAOR concept to 169 target groups. Qualitative and quantitative data analysis. Knowledge, work methods, satisfaction and participation Using the program. escriptive statistics frequency, percentage, mean, and standard deviation. And qualitative data analysis. By content analysis. The results revealed the development model is 7 steps 1) Collect data and Study the context 2) Appoint the committee 3) Workshop 4) Plan the methods of procedure to consist of 8 projects 5) Implementation of Project 6) Evaluation and 7) Reflection. After development, Targeted people have more knowledge and work methods about medical service reimbursement in diagnosis related group. In summary, the medical service reimbursement in diagnosis related group in new methods was development result in for reducing in medical service reimbursement. The success factors of co-operation and participation. And understand the role, duty and importance to medical service reimbursement in diagnosis related group.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อการพัฒนากระบวนการเบิกชดเชยค่าบริการสาธารณสุขในระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัดอุบลราชธานี โดยใช้แนวคิด PAOR กลุ่มเป้าหมายจำนวน 169 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ในเรื่องความรู้ การปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการคำนวณสถิติเชิงพรรณนา แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการพัฒนาการดำเนินงาน มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การเก็บข้อมูลและศึกษาบริบท 2) แต่งตั้งคณะทำงาน 3) ประชุมเชิงปฏิบัติการ 4) วางแผนและกำหนดขั้นตอนการพัฒนา ประกอบด้วย 8 โครงการ 5) นำแผนงานโครงการไปสู่การปฏิบัติ 6) การประเมินผลการดำเนินการพัฒนา และ 7) การสะท้อนผล หลังการพัฒนาพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกชดเชยค่าบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้น โดยสรุปกระบวนการเบิกชดเชยค่าบริการสาธารณสุขที่พัฒนาขึ้น ส่งผลให้การขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ซึ่งปัจจัยของความสำเร็จในครั้งนี้ ได้แก่ การร่วมมือและการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงาน และมีความเข้าใจบทบาทหน้าที่และเห็นถึงความสำคัญในการเบิกชดเชยค่าบริการสาธารณสุขในระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเบิกชดเชยค่าบริการสาธารณสุขth
dc.subjectกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมth
dc.subjectMedical Service Reimbursementen
dc.subjectDiagnosis Related Groupen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Development of Medical Service Reimbursement in Diagnosis Related Group of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital Ubonratchathani Provinceen
dc.titleการพัฒนากระบวนการเบิกชดเชยค่าบริการสาธารณสุขในระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัดอุบลราชธานีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60051480007.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.