Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/689
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupawadee Pannongponen
dc.contributorศุภาวดี พันธ์หนองโพนth
dc.contributor.advisorVorapoj Promasatayaproten
dc.contributor.advisorวรพจน์ พรหมสัตยพรตth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:48:31Z-
dc.date.available2020-05-19T06:48:31Z-
dc.date.issued13/11/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/689-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis action research aimed to study the development of a diabetic care system for the chronic care model in Khunhan hospital of Khunhan Municipality, Khunhan District, Sisaket Province. A total of 124 participants were selected by purposive sampling consists of management groups, public sector groups and multidisciplinary team groups. The data were collected by participatory observation forms, interview forms, questionnaires for participation and satisfaction assessment form for health service system management collected by interviewing the sample which conducted during June - October 2019. Data were analyzed using descriptive statistics such as percentage, average, standard deviation. Minimum - Highest and content analysis. The results showed that the management of non-communicable disease patients in this diabetes clinic was managed in accordance with the 6 components of the Wagner's chronic care model of the 6 key factors is 1) Service system have adjusted the working system to make patients more easily accessible. 2) Self-management support have group activity providing knowledge and checking up by appointment. 3) Service design the same service format is provided in the network, clearly define the activities of the diabetes clinic. 4) Decision support create guidelines for diabetes care and the village public health volunteers are volunteers to help patients in the community. 5) Clinical information system develop the entire network of information systems have a map to track home visits and a lack of appointment monitoring programs. 6) Community support develop a participatory management system, policy planning defining service activities and supporting budgets as appropriate health results of target patients after implementing the developed care process making the target patients able to control blood sugar levels well at a more controlled level. There is a clear system and work pattern with a multidisciplinary health team arising from community involvement and proactively increasing the quality of diabetic care instead of receiving treatment units. In summary, this service system development process it is a result of the new service system adjustment that focuses on the complete activities of the whole system. Focusing on working with communities and local networks with good support mechanisms of the service unit and the care team both inside and outside the service place.en
dc.description.abstract    การวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภายใต้รูปแบบการจัดการโรคเรื้อรัง (Chronic Care Model) ในคลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลขุนหาญ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ผู้มีส่วนร่วมการวิจัย เลือกแบบจำเพาะเจาะจง 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มบริหาร 15 คน กลุ่มภาคประชาชน 94 คน และกลุ่มทีมสหสาขาวิชาชีพ 15 คน รวมทั้งสิ้น 124 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสังเกตการณ์มีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมินการมีส่วนร่วม และแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดระบบบริการสุขภาพ เก็บรวมรวมโดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ระหว่างเดือนมิถุนายน - ตุลาคม 2562 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด-สูงสุด และวิเคราะห์เชิงเนื้อหาของข้อมูล ผลการวิจัย พบว่าการจัดการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในคลินิกเบาหวานครั้งนี้มีการจัดการตาม 6 องค์ประกอบของแบบจำลองการดูแลโรคเรื้อรังของแวคเนอร์ที่สำคัญ 6 ประการคือ 1) ด้านระบบบริการ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ให้ผู้ป่วยเข้าถึงได้ง่ายขึ้น 2) ด้านการสนับสนุนการจัดการตนเอง มีกิจกรรมกลุ่ม ให้ความรู้และการมาตรวจตามนัด 3) ด้านการออกแบบบริการ มีการจัดรูปแบบบริการเดียวกันในเครือข่าย กำหนดกิจกรรมของคลินิกเบาหวานให้ชัดเจน 4) ด้านการสนับสนุนการตัดสินใจ จัดทำคู่มือแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน และมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นจิตอาสา ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยในชุมชน 5) ระบบสารสนเทศทางคลินิก พัฒนาระบบข้อมูลทั้งเครือข่าย มีแผนที่ในการติดตามเยี่ยมบ้าน และโปรแกรมการตรวจสอบผู้ป่วยขาดนัด 6) ด้านสิ่งสนับสนุนในชุมชน พัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม มีการกำหนดนโยบาย การวางแผนดูแล การกำหนดกิจกรรมบริการและสนับสนุนงบประมาณตามความเหมาะสม ผลลัพธ์ทางสุขภาพของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย ภายหลังนำกระบวนการดูแลที่พัฒนาขึ้นไปใช้ ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีอยู่ในระดับที่ควบคุมได้มากขึ้น มีระบบและรูปแบบการทำงานที่ชัดเจนมากขึ้น โดยมีทีมสหวิชาชีพด้านสุขภาพที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชน และเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานเชิงรุกแทนการตั้งรับในหน่วยบริการ โดยสรุป กระบวนการพัฒนาระบบบริการครั้งนี้ เป็นผลสำเร็จจากการปรับระบบบริการแนวใหม่ที่เน้นกิจกรรมที่ครบวงจรทั้งระบบ เน้นการทำงานเชื่อมประสานกับชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ โดยมีกลไกการสนับสนุนที่ดีของหน่วยบริการและทีมผู้ดูแลทั้งในและนอกสถานบริการ  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectผู้ป่วยโรคเบาหวานth
dc.subjectการจัดการโรคเรื้อรังth
dc.subjectModel developmenten
dc.subjectdiabetis mellitus type 2en
dc.subjectchronic care modelen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titleThe Development of a Diabetic Care System for the Chronic Care Model in Khunhan Hospital of Khunhan  Municipality, Khunhan District, Sisaket  Provinceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภายใต้รูปแบบการจัดการโรคเรื้อรัง (Chronic Care Model) ในคลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลขุนหาญ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60051480013.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.