Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/796
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuttida Pimpengen
dc.contributorสุทธิดา พิมพ์เพ็งth
dc.contributor.advisorTerdsak Promaraken
dc.contributor.advisorเทอดศักดิ์ พรหมอารักษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-01-08T10:27:47Z-
dc.date.available2021-01-08T10:27:47Z-
dc.date.issued4/2/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/796-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractA study of the development process of pregnancy prevention in adolescents by the participation of That Thong Subdistrict Community, Sawang Daen Din District Sakon nakonn The study area consisted of 8 villages. The sample consisted of 210 teenagers in That Thong Subdistrict between the ages of 10 - 19 years and 70 persons involved in pregnancy prevention operations in adolescents The study consists of 4 phases as follows: Phase 1 examines the problems, the factors that cause the problems And operational barriers by quantitative data surveys (Quantitative data) and Qualitative data Phase 2 use the results to determine the process of developing pregnancy prevention in adolescents by the participation of the communities of That Thong Subdistrict, Sawang Daen Din District Sakon Nakhon Province, Phase 3  Bring the model to experiment Applies to 210 teenagers aged between 10 - 19 years Phase 4 Evaluation of the use of the development process to prevent pregnancy in adolescents The study found that Factors of problems and obstacles in operations, prevention of pregnancy in adolescents Caused by the negative impact of the family Social media environment that has changed Especially internet media Emotional behavior occurs from teenagers and themselves. From the results of the study Leading to the return of data back to the community in the form of integration with the networking forum of the Parties Including community meetings Meeting to prepare the project plan Local Health Insurance Fund Monthly meeting of public health volunteers And organized a workshop to determine the guidelines and activities for preventing pregnancy of adolescents by the participation of That Thong Subdistrict Community, Sawang Daen Din District Sakon nakonn After that, a surveillance and monitoring program for teenagers with risk behavior was conducted. Project to create trends and create values ​​about Healthy sex and the security guard project Caused by the cooperation of the community and network partners. Which requires working as a team Be sincere in solving problems continuously.en
dc.description.abstractการศึกษากระบวนการพัฒนาการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลธาตุทอง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลธาตุทอง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร พื้นที่ศึกษาจานวน 8 หมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นในตำบลธาตุทอง อายุระหว่าง 10 – 19 ปี จำนวน 210 คน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จำนวน 70 คน การศึกษาประกอบด้วย 4 ระยะดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาปัญหา ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของ ปัญหา และอุปสรรคการดำเนินงานโดยการสำรวจข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) และเชิง คุณภาพ (Qualitative data) ระยะที่ 2 นำผลที่ได้ไปกำหนดกระบวนการพัฒนาการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลธาตุทอง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัด สกลนคร ระยะที่ 3  ลงมือปฏิบัติตามแนวทางและกิจกรรมการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา ใช้กับกลุ่มวัยรุ่น อายุระหว่าง 10 -19 ปี จำนวน 210 คน ระยะที่4 ประเมินผลการใช้กระบวนการพัฒนาการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากผลที่ได้จาก การศึกษา นำไปสู่การคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชนในรูปแบบการบูรณาการร่วมกับกับเวทีการประชุมของ ภาคีเครือข่าย ได้แก่การประชุมประชาคม การประชุมจัดทำแผนงานโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ การประชุมประจำเดือนของอาสาสมัครสาธารณสุข และจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อกำหนดแนวทางและกิจกรรมการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลธาตุทอง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร จากนั้นได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและ ติดตามวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง โครงการสร้างกระแสและสร้างค่านิยมเรื่องเพศสัมพันธ์ที่มีสุขภาวะ กระบวนการพัฒนาการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลธาตุทอง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนครเกิดจากความร่วมมือของชุมชนและภาคีเครือข่าย ซึ่งต้องมีการทำงานเป็นทีม และผู้นำของทุกภาคส่วนเห็นความสำคัญในการรพัฒนาการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนมีส่วนร่วม  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเรียนรู้th
dc.subjectพฤติกรรมth
dc.subjectการป้องกันการตั้งครรภ์th
dc.subjectวัยรุ่นth
dc.subjectLearningen
dc.subjectbehavioren
dc.subjectPregnancy preventionen
dc.subjectteenagersen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Process of Solving Problems in Teenagers by Participating in The Community at That Thong Subdistrict Sawang Daen Din District Sakon Nakhon Provinceen
dc.titleกระบวนการพัฒนาการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลธาตุทอง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60031480008.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.