Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/808
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Winai Suriya | en |
dc.contributor | วินัย สุริยะ | th |
dc.contributor.advisor | Teerawong Laosuwan | en |
dc.contributor.advisor | ธีรวงศ์ เหล่าสุวรรณ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Science | en |
dc.date.accessioned | 2021-06-08T13:58:14Z | - |
dc.date.available | 2021-06-08T13:58:14Z | - |
dc.date.issued | 2/2/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/808 | - |
dc.description | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | Northern Thailand suffers a problem of small dust particles 10 microns that exceeds the standard, which is dangerous to public health mainly due to human activities. This study aimed to analyze the relationship between PM10 quantity and Aerosol Optical Thickness (AOT) in Nan, Phrae and Phayao provinces. The methodology was performed correlated analyzes of PM10 data from the Pollution Control Department monitoring stations and Aerosol Optical Thickness data from Terra/Modis satellites between January and April 2018. The results of the study showed that changes in PM10 concentration and Aerosol Optical Thickness in the atmosphere of Nan, Phrae and Phayao provinces were related and Phayao Province in January had the most correlation coefficient (R = 0.959). Moreover, from multivariate analysis of PM10, Aerosol Optical Thickness and various meteorological parameters with Principal Component Analysis, it was found that temperature, relative humidity, and cloud had effect on PM10 and Aerosol Optical Thickness | en |
dc.description.abstract | ภาคเหนือของประเทศไทยประสบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก 10 ไมครอนเกินค่ามาตรฐานซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพประชาชนโดยสาเหตุหลักมาจากกิจกรรมของมนุษย์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ PM10 กับค่าความหนาเชิงแสงของอนุภาคแขวนลอยในบรรยากาศ ในพื้นที่จังหวัดน่าน จังหวัดแพร่ และจังหวัดพะเยา วิธีการดำเนินการได้ทำการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของข้อมูล PM10 จากสถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ และข้อมูลความหนาเชิงแสงของอนุภาคแขวนลอยในบรรยากาศจากดาวเทียมเทอร์ราโมดิส ระหว่างช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายน ปี พ.ศ. 2561 ผลการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน กับค่าอนุภาคแขวนลอยในบรรยากาศของพื้นที่จังหวัดน่าน จังหวัดแพร่ และจังหวัดพะเยา มีความสัมพันธ์กัน โดยจังหวัดพะเยาในเดือนมกราคมมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มากที่สุด (R=0.959) นอกจากนี้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลแบบหลายตัวแปรระหว่างปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน ความหนาเชิงแสงของอนุภาคแขวนลอยในบรรยากาศและตัวแปรต่าง ๆ ทางด้านอุตุนิยมวิทยา ด้วยเทคนิคการสกัดปัจจัยแบบการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก พบว่า อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และปริมาณเมฆ มีผลต่อปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน และความหนาเชิงแสงของอนุภาคแขวนลอยในบรรยากาศ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การสำรวจข้อมูลระยะทางไกล | th |
dc.subject | remote sensing | en |
dc.subject.classification | Physics and Astronomy | en |
dc.title | Relationship between concentrations of PM10 derived from air quality monitoring stations and Terra MODIS data | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ที่ได้จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศและดาวเทียมเทอร์ราโมดิส | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58010251008.pdf | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.