Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/816
Title: Design and Development of a Cassava Peeling Knife Set
การออกแบบและพัฒนาชุดอุปกรณ์ปอกเปลือกหัวมันสำปะหลัง
Authors: Pariyed Sitthi
ปริเยศ สิทธิ
Suphan Yangyuen
สุพรรณ ยั่งยืน
Mahasarakham University. The Faculty of Engineering
Keywords: มันสำปะหลัง
ใบมีดปอก
การปอกเปลือก
Cassava tuber
knife
peeling
Issue Date:  10
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: Peeling of cassava tubers is one of the important steps in processing of cassava chips. The peeling is still manual, which has low capacity and is there fore insufficient for production needs. This research aims to design and development of a cassava peeling knife set. The unit consists of a structure, power and transmission, and a knife peeling set. The study conditions were at 70, 80 and 90 rpm of knife rotating speed, with 3 different knife peeling types and 2 levels of spring stiffness of knife peeling (8.21 N/m. and. 17.19 N/m). The result shows that the most suitable conditions were  90 rpm of knife peeling speed, using a second knife peeling type and a spring stiffness of 8.21 N/m. The peeling efficiency was 88.04 percentage. The flesh loss was 1.53 percentage and The capacity was 154.79 Kg/h. The break-even poin of a cassava peeling knife set was 92.87 Kg/h or around 7.75 ton/year (working 240 days/year) and payback period around 8.8 years
การปอกเปลือกมันสำปะหลังเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญในการผลิตมันสำปะหลังแผ่นทอดกรอบ ปัจจุบันการปอกเปลือกยังใช้มือในการปอกเปลือก ซึ่งมีกำลังการผลิตต่ำและไม่เพียงพอต่อความต้องการในการผลิต งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาชุดอุปกรณ์ปอกเปลือกมันสำปะหลังเพื่อใช้เป็นชุดทดสอบ โดยชุดอุปกรณ์ปอกเปลือกมันสำปะหลัง มีส่วนประกอบหลัก คือ โครงสร้าง ชุดต้นกำลังและชุดส่งกำลัง ชุดอุปกรณ์ปอกเปลือก โดยศึกษาความเร็วรอบของใบมีด 3 ระดับ คือ 70 80 และ 90 รอบต่อนาที ชนิดใบมีดแตกต่างกัน 3 แบบ และค่าความแข็งตึงของสปริง 2 ระดับ คือ 8.21 N/m และ 17.19 N/m ผลจากการทดสอบและประเมินสมรรถนะ และหาระดับปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับชุดอุปกรณ์ปอกเปลือกมันสำปะหลัง พบว่า ความเร็วรอบของใบมีด 90 รอบต่อนาที ใช้ใบมีดแบบที่ 2 ค่าความแข็งตึงของสปริง 8.21 N/m มีประสิทธิภาพการปอก 88.07 เปอร์เซ็นต์ อัตราการสูญเสียเนื้อ 1.53 เปอร์เซ็นต์ และมีความสามารถในการทำงาน 154.79 กิโลกรัมต่อชั่วโมง โดยชุดอุปกรณ์ปอกเปลือกมันสำปะหลังมีจุดคุ้มทุนในการผลิตอยู่ที่ 92.87 กิโลกรัมต่อชั่วโมง หรือประมาณ 7.75 ตันต่อปี (ทำงาน240 วันต่อปี) และระยะเวลาการคืนทุนประมาณ 8.8 ปี
Description: Master of Engineering (M.Eng.)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/816
Appears in Collections:The Faculty of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010380005.pdf7.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.