Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatthachai Phommoen
dc.contributorณัฐชัย พรมโม้th
dc.contributor.advisorArporn Popaen
dc.contributor.advisorอาภรณ์ โพธิ์ภาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:06:44Z-
dc.date.available2021-06-08T14:06:44Z-
dc.date.issued15/12/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/829-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the dance sport training program with the principles of Interval training on physical fitness of the elderly female. The sample consisted of 40 women aged 60-69 years old, 22 were from Duan-Yai elderly school, Wang Hin district to be the experimental group and 18 were from Watprato elderly school, Mueang district Sisaket province for the control group, selected by purposive sampling. Semi-experimental research design was used. The research instruments consisted of a dance sport training program with the principles of interval training and the physical fitness test for elderly. The statistics for data analysis used mean, standard deviation and compare the mean difference scores of the physical fitness after the training with dependent samples t-test for statistical significance at the .05 level. The results of the research showed that dance sport training program with the principles of Interval training (experimental group) and normal exercise (control group) can develop the cardiorespiratory fitness, both groups were statistic significant difference at the level of .05. While the strength and endurance of the arm muscles, the strength and endurance of the leg muscles, flexibility and agility course were no significant difference at .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโปรแกรมการฝึกเต้นลีลาศด้วยหลักการฝึกหนักสลับเบาที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุเพศหญิง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้สูงอายุเพศหญิงอายุ 60-69 ปี จำนวน 40 คน เป็นผู้สูงอายุโรงเรียนดวนใหญ่ อำเภอวังหิน จำนวน 22 คน เป็นกลุ่มทดลองและเป็นผู้สูงอายุในโรงเรียนวัดพระโต อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 18 คน เป็นกลุ่มควบคุม ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มีรูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรมการฝึกเต้นลีลาศด้วยหลักการฝึกหนักสลับเบา และแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ผลทดสอบสมรรถภาพทางกายหลังการฝึกด้วยการทดสอบที แบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent Samples T-test) ทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า การฝึกลีลาศด้วยหลักการฝึกหนักสลับเบา (กลุ่มทดลอง) และการออกกำลังกายแบบปกติ (กลุ่มควบคุม) พัฒนาด้านความอดทนของระบบไหลเวียนเลือดมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเนื้อแขน ความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเนื้อขา สมรรถภาพทางกายด้านความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และความสามารถในการทรงตัวขณะเคลื่อนที่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectลีลาศth
dc.subjectหลักการฝึกหนักสลับเบาth
dc.subjectสมรรถภาพทางกายth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectDance Sporten
dc.subjectInterval Trainingen
dc.subjectPhysical Fitnessen
dc.subjectElderlyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Effect of Dance Sport Training Program with the Principles of Interval Training on Physical Fitness of Women Elderlyen
dc.titleโปรแกรมการเต้นลีลาศด้วยหลักการฝึกหนักสลับเบาที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุเพศหญิงth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010550003.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.