Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChudsagorn Phikulthongen
dc.contributorชัดสกร พิกุลทองth
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:09:28Z-
dc.date.available2021-06-08T14:09:28Z-
dc.date.issued12/12/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/838-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe present research aimed at 1) studying the factors of the indicators for secondary school administrators in digital era; 2) investigating the present states, desirable conditions, and need requirements of secondary school administrators in digital era; 3) developing the program to strengthen secondary school administrators; and 4) evaluating the program to strengthen secondary school administrators in digital era using research and development processes. The study was conducted in 4 phases as follows. Phase 1 : The factors of the indicators for secondary school administrators in digital era were studied using data analysis and common formative assessment techniques. Phase 2 : The present states, desirable conditions, and need requirements of the secondary school administrators in digital era were investigated. The sample group was the secondary school administrators who were under the supervision of the Secondary Educational Service Area Office in the northeastern region. Phase 3 : The program to strengthen the secondary school administrators in digital era was developed. The semi-structured interview was used to interview the administrators. The program was then constructed and it was assessed by the experts. Phase 4 : The program to strengthen the secondary school administrators in digital era was utilized. The participants of the research were the secondary school administrators under the supervision of the Secondary Educational Service Area Office 26. The research instruments consisted of questionnaire, interview, test, and assessment form. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, and standard deviation. The Wilcoxon’s Matched-Pairs Signed Ranks Test was also employed to assess the collected data.  The followings are the results of the research : 1. There were 6 factors and 20 indicators for strengthening the secondary school administrators in digital era who were under the supervision of the Secondary Educational Service Area Office 26. 2. The study of the present states and desirable conditions for the strengthening of the secondary school administrators revealed that all the factors of the overall present states were at high level. For the desirable conditions, it was found that all factors were in at highest level.      3. The development of the program to strengthen the secondary administrators in digital era can be concluded as : 1) There were 7 components of the program to strengthen the secondary administrators in digital era including the program principles, objectives, goals, resources, program contents for development, development process and strengthen method, and assessment. 2) The program contents comprised 6 modules namely, Module 1: Creative Thinking, Module 2: Self-Directed Learning, Module 3: Team Work, Module 4: Integrating, Module 5: Technology Learning in Digital Era, and Module 6: Learning Network. 4. The results of the employment of the program to strengthen the secondary administrators in digital era can be summarized as follows. 1) The results of the participants’ self-evaluation before participating in the program to strengthen the administrators in digital era showed that the level of them being the administrators was at moderate level. After taking part in the program, the level was at high. 2) The comparison of the strengthening level of the secondary school administrators’ self-evaluation indicated that the level after taking part in the program was higher than before taking part in the program with statistical significance at the 0.05 level. 3) The follow-up to the program and reflections of the administrators who attended the program were assessed in 5 levels: 1) responses of the participants, 2) participant learning, 3) support and change of organization, 4) use of new knowledge or skills of the participants, and 5) satisfaction of the participants. It was found that all the 5 areas of assessment were at highest level. 4) The participants’ overall satisfaction towards the program to strengthen the secondary school administrators in digital era who were under the supervision of the Secondary Educational Service Area Office found to be at highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อการศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา 3) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา 4) เพื่อประเมินผลการใช้โปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยใช้กระบวนการวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ดำเนินการ 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา วิเคราะห์เนื้อหา และยืนยันองค์ประกอบ ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา ประเมินโปรแกรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ระยะที่ 4 ศึกษาผลการนำโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษาไปใช้ มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบของวิลคอกซัน (The Wilcoxon’s Mateched Pairs Signed-Ranks Test) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้  1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มี 6 องค์ประกอบ และ 20 ตัวบ่งชี้ 2. การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พบว่า สภาพปัจจุบันของการเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบและสภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดทุกองค์ประกอบ 3. การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1) องค์ประกอบของโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการของโปรแกรม วัตถุประสงค์ของโปรแกรม เป้าหมายของโปรแกรม ทรัพยากร เนื้อหากิจกรรมพัฒนาของโปรแกรม กระบวนการพัฒนาและวิธีการเสริมสร้าง และการประเมินผล 2) เนื้อหากิจกรรมพัฒนาของโปรแกรม ประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ของโปรแกรมประกอบด้วย 6 โมดูล ดังนี้ Module 1 ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) Module 2 การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง (Self-Directed Learning) Module 3 การทำงานเป็นทีม (Team Work) Module 4 การบูรณาการ (Integrating) Module 5 เทคโนโลยีที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ในยุคดิจิทัล (Technology Learning in Digital Era) Module 6 เครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) 4. การศึกษาผลการนำโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สรุปดังนี้ 1) ผลการประเมินระดับเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยผู้เข้ารับการพัฒนาประเมินตนเอง พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนมีระดับของการเป็นผู้บริหารสถานศึกษาในยุดิจิทัลก่อนการพัฒนาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และหลังการพัฒนา โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบระดับเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ผู้บริหารโรงเรียนที่เข้ารับการพัฒนาประเมินตนเองก่อนและหลังการพัฒนา พบว่า หลังการพัฒนาสูงขึ้นกว่าก่อนเข้ารับการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 3) การติดตามผลหลังการพัฒนาและสะท้อนผล โดยทำการประเมิน มี 5 ระดับ ของการประเมิน คือ 1) ปฏิกิริยาของผู้เข้าร่วม 2) การเรียนรู้ผู้เข้าร่วม 3) การสนับสนุนขององค์กรและการเปลี่ยนแปลงองค์กร 4) การใช้ความรู้ใหม่หรือทักษะใหม่ของผู้เข้าร่วม 5) ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม โดยกลุ่มผู้บริหารโรงเรียนที่เข้ารับการพัฒนา พบว่า โดยรวมทุกระดับอยู่ในระดับมากที่สุด 4) ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลth
dc.subjectProgram Developmenten
dc.subjectSchool Administrators in Digital Eraen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of a Program to Strengthen Secondary School Administrators in Digital Eraen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010562006.pdf12.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.