Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChayangkun Khoyunen
dc.contributorชยางกูร ข้อยุ่นth
dc.contributor.advisorAtthapon Intasenaen
dc.contributor.advisorอัฐพล อินต๊ะเสนาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:09:30Z-
dc.date.available2021-06-08T14:09:30Z-
dc.date.issued28/2/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/843-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the study were: 1) to study the current condition and the desirable condition for the development of the students’ life skills using the concept of professional learning community in The Secondary Education Service area office 25, 2) to develop the concept of the development of the students’ life skills using the concept of professional learning community in The Secondary Education Service area office 25. The research was divided into two phases. The first phase was to study the current condition, the desirable condition, and the priority needs of the development of the students’ life skills using the concept of professional learning community. The sample of 308 cases were drawn from using stratified sampling. The instrument used was questionnaires. The second phase was the development that improved the students’ life skills using the concept of a professional learning community. The assessment of possibilities of the approach by five experts were chosen from purposive sampling. The instruments were interview forms and evaluation forms for the suitability and possibility of the concept. The statistics used in the data analyzed were percentage, median, standard deviation, and priority needs index. The results of the study were: 1. The overall current condition of the development of the students’ life skills using the concept of professional learning community is on a medium level (x̅ = 3.66, S.D. = 0.66), the overall desirable condition is on a high level (x̅ = 4.27, S.D. = 0.64). 2. Ways to improve the students’ life skills using the concept of professional learning community: 1) critical thinking and decision making skills development using the concept of professional learning community 2) self-awareness and empathy skills and corporate social responsibility skills development using the concept of professional learning community 3) emotions and stress management skills development 4) communication and interpersonal skills development using the concept of professional. A director and teachers planned on a vision, an obligation and a target together. They also accompanied with the identical leadership to support the students' life skills development. A term of processing had been got on with the team-work system. In addition, there were learning and professional development evaluation and revision.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2) พัฒนาแนวทางการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 308 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การประเมินความเป็นไปได้ของแนวทาง โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.66, S.D. = 0.66) สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.27, S.D. = 0.64) 2. แนวทางพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีแนวทางดังนี้ 1) การพัฒนาทักษะการคิดและการตัดสินใจโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2) การพัฒนาทักษะการเข้าใจตนเองและผู้อื่นและความรับผิดชอบต่อสังคมโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 3) การพัฒนาทักษะการจัดการอารมณ์และความเครียดโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 4) การพัฒนาทักษะการสื่อสารและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผู้บริหาร ครู มีการวางแผน วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายร่วมกัน มีภาวะผู้นำร่วมกัน สนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียน ในกระบวนการดำเนินงานมีระบบทีมร่วมมือร่วมใจอย่างเป็นกัลยาณมิตร และมีการประเมินผลและปรับปรุง ทบทวนการเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectทักษะชีวิตth
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectLife Skillsen
dc.subjectProfessional Learning Communityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of the Student’ Life Skill Using the Concept of Professional Learning Community in The Secondary Education Service Area office 25en
dc.titleแนวทางการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010586018.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.