Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/889
Title: The Development of Environmental Education Learning Activities in Khok Hin Lad Community Forest (Huay Kha Kang Water Shed Forest) using the  area base learning
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาในป่าชุมชนโคกหินลาด(ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) โดยใช้พื้นที่เป็นฐานการเรียนรู้
Authors: Likhit Junkaew
ลิขิต  จันทร์แก้ว
Prayoon Wongchantra
ประยูร วงศ์จันทรา
Mahasarakham University. The Faculty of Environment and Resource Studies
Keywords: การพัฒนากิจกรรม
การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา
ป่าชุมชนโคกหินลาด
ใช้พื้นที่เป็นฐาน
จริยธรรมสิ่งแวดล้อม
จิตอาสาสิ่งแวดล้อม
Activity development
environmental learning
Khok Hin Lad community forest
area base Learning
environmental volunteerism
environmental ethics
Issue Date:  27
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpost of this research was to study and compare knowledge about Khok Hin Lad community forest (Huai Ka Kang watershed forest), environmental ethics and environmental volunteering from learning activities, Of undergraduate students Before and after activities. To study and compare knowledge about Khok Hin Lad Community Forest (Huai Ka Kang watershed forest), environmental ethics and environmental volunteerism of undergraduate students of different sexes. And to study and compare knowledge about Khok Hin Lad Community Forest (Huai Ka Kang watershed forest), environmental ethics and environmental volunteerism of undergraduate students with different grades. The sample used in the research was the second year undergraduate students in Environmental Studies, Faculty of Environment and Resource Studies Mahasarakham University, 113 people, Derived from a specific selection. The research instruments were a manual for developing learning activities in the Khok Hin Lad community forest. (Huai Ka Kang watershed forest) using the area base learning. The research instruments were a manual for developing learning activities in the Khok Hin Lad community forest (Huai Ka Kang watershed forest) using the area base learning, knowledge test about Khok Hin Lad Community Forest, environmental ethics measure and a measure of environmental volunteering. The statistics used in the research were frequency, percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing using t-test, F-test (One – Way MANOVA, One – Way MANCOVA and Univariate Test). The study found that. 1. The students have a knowledge average score of Khok Hin Lad Community Forest. (Huai Ka Kang watershed forest), environmental ethics and environmental volunteerism, after the learning activity was higher than before the learning activity (p> .05). 2. Students of different sexes have knowledge of Khok Hin Lad Community Forest. (Huai Ka Kang watershed forest), environmental ethics and environmental volunteerism was no different (p> .05). 3. Students with different grades have knowledge of Khok Hin Lad Community Forest. (Huai Ka Kang watershed forest) are different (p> .05), and have environmental ethics and environmental volunteerism was no different (p> .05).
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมการเรียนรู้ ของนิสิตระดับปริญญาตรี ก่อนกิจกรรมและหลังกิจกรรม เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมของนิสิตระดับปริญญาตรีที่มีเพศต่างกัน และเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมของนิสิตระดับปริญญาตรีที่มีผลการเรียนต่าง กันกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 113 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาในป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด แบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม และแบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อมต่อการอนุรักษ์ป่าชุมชนโคกหินลาด  สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t-test, F-test (One–Way MANOVA, One–Way MANCOVA และ Univariate Test) ผลการศึกษาพบว่า 1. นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อม หลังกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนกิจกรรมการเรียนรู้ (p > .05) 2. นิสิตที่มีเพศต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมไม่แตกต่างกัน (p > .05) 3. นิสิตที่มีผลการเรียนต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนโคกหินลาด (ป่าต้นน้ำห้วยคะคาง) แตกต่างกัน (p > .05) และมีจริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมไม่แตกต่างกัน (p > .05)  
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/889
Appears in Collections:The Faculty of Environment and Resource Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011760012.pdf5.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.