Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/891
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Uraiwan Praimee | en |
dc.contributor | อุไรวรรณ พรายมี | th |
dc.contributor.advisor | Wannasakpijitr Boonserm | en |
dc.contributor.advisor | วรรณศักดิ์พิจิตร บุญเสริม | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Environment and Resource Studies | en |
dc.date.accessioned | 2021-06-08T14:37:06Z | - |
dc.date.available | 2021-06-08T14:37:06Z | - |
dc.date.issued | 12/1/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/891 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | This research has the objective To study and compare knowledge Environmental ethics And environmental volunteerism from learning activities on solid waste and sewage management By using a learning model for problems and problems as a student base Before and after class To compare knowledge Environmental ethics And environmental volunteerism from learning activities on solid waste and sewage management Using a learning pattern, problems and problems as a basis for students with different genders and academic performance. The sample used in the research was the third year undergraduate students in the field of environmental studies. Faculty of Environment and Resource Studies Mahasarakham University, 111 students, which were obtained from a specific selection The research tool was a learning activity plan on solid waste and sewage management. By using a learning model for problems and problems as a base Knowledge quiz on solid waste and sewage management Environmental Ethics Measure And the environmental volunteer measurement model The statistics used in the research were frequency, percentage, mean, standard deviation. And hypothesis testing using t-test, F-test (One – Way MANOVA, One – Way MANCOVA, and Univariate Test). The study found that: 1. The students had the knowledge average score on solid waste and sewage management. Environmental ethics And environmental volunteerism Higher after learning than before learning With statistical significance at the .05 level. 2. Students of different sexes have knowledge of environmental ethics. And environmental volunteerism on solid waste and sewage management Not different (p> .05) 3. Students with different grades have knowledge, ethics, environment. And environmental volunteerism regarding waste and sewage management are different. With statistical significance at the .05 level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ปัญหาและโจทย์เป็นฐานของนิสิต ก่อนและหลังเรียน เพื่อเปรียบเทียบความรู้ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ปัญหาและโจทย์เป็นฐานของนิสิตที่มีเพศและผลการเรียนต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 111 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ปัญหาและโจทย์เป็นฐาน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล แบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม และแบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t-test, F-test (One–Way MANOVA, One–Way MANCOVA และ Univariate Test) ผลการศึกษาพบว่า 1. นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อม หลังการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นิสิตที่มีเพศแตกต่างกัน มีความรู้ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ไม่แตกต่างกัน (p > .05) 3. นิสิตที่มีผลการเรียนต่างกัน มีความรู้ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และจิตอาสาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | แผนกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล | th |
dc.subject | รูปแบบการเรียนรู้ปัญหาและโจทย์เป็นฐาน | th |
dc.subject | ความรู้ | th |
dc.subject | จริยธรรมสิ่งแวดล้อม | th |
dc.subject | จิตอาสาสิ่ิงแวดล้อม | th |
dc.subject | Plan of learning activities on waste and sewage management | en |
dc.subject | Learning model for problems and problems as a base | en |
dc.subject | Knowledge | en |
dc.subject | Environmental ethics | en |
dc.subject | Environmental volunteerism | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.title | Development of learning activities on waste and sewage management by using question and Problems-based learning | en |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล โดยใช้ปัญหาและโจทย์เป็นฐานการเรียนรู้ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Environment and Resource Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59011760018.pdf | 3.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.