Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKomjarat Tongjaraten
dc.contributorคมจรัส ทองจรัสth
dc.contributor.advisorNarongruch Woramitmaiteeen
dc.contributor.advisorณรงค์รัชช์ วรมิตรไมตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:40:13Z-
dc.date.available2021-06-08T14:40:13Z-
dc.date.issued27/1/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/895-
dc.descriptionMaster of Music (M.M.)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study the history of Isan folk music melodic Pattern of Kalasin College of Dramatic Arts 2) conduct notes and analyze folk music melodic Pattern of Kalasin College of Dramatic Arts. The research results were found that Based on Thai music, Isan folk music melodic patterns of Kalasin College of Dramatic Arts was created with a triple-layer, double-layer, and single-layer rhythm. It was created by imagination to achieve the appropriate forms of the melody and to have jollity, enjoyment, and mournfulness depending on the mood of the song. The composer defined various melody patterns and chosen folk music, being popular in the past, to form Isan folk music melodic patterns. There are 11 melodic patterns consisted of 1) Lai Pird Wong composed by Arjarn Songsak Prathumsin. It formed by using the concept of a folk song, a Chinese song, and a Northern folk song. 2) Lai Pong Larng, composed by Arjarn Phloeng Chairasmee, was formed by bell’s sound derived from several Mak Pong Lang bells which provide low and high pitch, hanging from the cow's neck and the buffalo's neck. 3) Lai Narttaleela Pha Yard, composed by Arjarn Phloeng Chairasmee, was formed by remixing the introduction of the Lao Ubon melody and the speed part of Lai Sao Koi Ai patter.4) Lai Serng Pong formed by using various melodic patterns of blowing the bamboo mouth organ and taking the melody into a new arrangement. 5) Lai Pair Wa Kalasin was formed by using Kabuan Hair Kun Hrorn song which blows bamboo mouth organ to compose the melody. 6) Lai Orn Sorn E-sarn was formed by picking up a melody from students playing the pattern then. 7) Lai Sow Koy Eai was formed by the Mak Kra Loung which showed the high-low tone. 8) Lai Kaw Tong Lom was formed by using the fluttering rice in the strong wind 9) Lai Pun Mor was rewritten and renewed the melody from the pattern from Lai Kaw Tong Lom, composed by Ajarn Toolthongjai Sunglam. 10) Lai Sow Ae Dok koon was remixed by choosing the melody from Noom Bak Prao How Saw Dok koon Pong Lang Band and 11) Lai Naree E-sarn, composed by Arjarn Sombat Chaimayo, was rearranged by using the slow rhythm of Lai Pong Lang and Lai Lai Mangpoo Torm Dok. The analysis of the melody was found that each Lai had an independent structure. It was composed of melody development methods such as Repetition, Sequence, Extension, Fragmentation, Inversion, Compression, and Rhythmic Motive. Melodic contour is a zigzag, an inverted arch, and an arch. It used the chord structure from the Natural Minor in Key A, C Major Scale, and G Major Scale. There were two types of breakpoints or endings: Perfect Cadence and Deceptive Cadence.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติลายดนตรีพื้นบ้านอีสานของวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ 2) จัดทำโน้ตและวิเคราะห์ลายดนตรีพื้นบ้านของวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ผลการวิจัยพบว่า ประวัติลายดนตรีพื้นบ้านอีสานของวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ใช้แนวคิดในการประพันธ์ โดยยึดโครงสร้างมาจากดนตรีไทย ซึ่งมีอัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชั้น และชั้นเดียว ประพันธ์ตามจิตนาการ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในรูปแบบของทำนองเพลง มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน หรือโศกเศร้า แล้วแต่อารมณ์ของเพลง โดยผู้ประพันธ์กำหนดรูปแบบทำนองต่าง ๆ และมีการนำเอาเพลงลูกทุ่งที่ได้รับความนิยมในสมัยก่อน มาเรียบเรียงให้เกิดเป็นลายดนตรีพื้นบ้านอีสานของวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ จำนวน 11 ลาย ประกอบด้วย อาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ ประพันธ์ 1) ลายเปิดวง ใช้แนวคิดมาจากการนำเอาทำนองเพลงลูกทุ่ง เพลงจีน เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ อาจารย์เปลื้อง ฉายรัศมี ประพันธ์ 2) ลายโปงลาง ใช้แนวคิดมาจากเสียงของหมากโปงลางหลายๆ ลูก ที่แขวนอยู่คอวัวคอควาย แล้วเกิดเสียงสูงต่ำ 3) ลายนาฏลีลาฟ้าหยาด ใช้แนวคิดมาจากการนำเอาทำนองมโหรีลาวอุบลและท่อนเร็วของลายสาวคอยอ้ายมาเรียบเรียงใหม่ อาจารย์ทูลทองใจ ซึ่งรัมย์ ประพันธ์ 4)ลายเซิ้งโปง ใช้แนวคิดจากการเป่าแคนลายต่าง ๆ แล้วนำเอาทำนองมาเรียบเรียงใหม่ 5) ลายแพรวากาฬสินธุ์ ใช้แนวคิดจากการหยิบยกเพลงแห่ขบวนกันหลอนของแคน 6) ลายออนซอนอีสาน ใช้แนวคิดจากการให้นักเรียนบรรเลงลายต่าง ๆ แล้วนำทำนองมาเรียบเรียงใหม่ 7) ลายสาวคอยอ้าย ใช้แนวคิดโดยมีหมากกะโหล่งเป็นตัวกำหนดเสียงทุ้มต่ำ 8)ลายข้าวต้องลม ใช้แนวคิดตามจิตนาการของใบข้าวที่ปลิวไสวตามสายลม 9) ลายปั้นหม้อ ใช้แนวคิดจากการหยิบยกลายข้าวต้องลม ทำนองเพลงมโหรีและทำนองเพลงกันตรึมมาการเรียบเรียงใหม่ อาจารย์สมบัติ ไชยมาโย ประพันธ์ 10) ลายสาวเอ้ดอกคูณ ใช้แนวคิดจากการหยิบยกเอาทำนองเพลงของวงโปงลางหนุ่มบักพร้าวห้าวสาวดอกคูณมาเรียบเรียงใหม่ 11) ลายนารีศรีอีสาน ใช้แนวคิดจากลายโปงลางและหยิบยกทำนองลายลมพัดพร้าวและลายแมงภู่ตอมดอกมาเรียบเรียงใหม่ จากการศึกษาการวิเคราะห์ทำนอง พบว่าในแต่ละลายมีโครงสร้างแบบอิสระ ใช้เทคนิคการประพันธ์ด้วยวิธีการพัฒนาทำนองแบบ การซ้ำทำนอง (Repetition) การทำห้วงลำดับทำนอง (Sequence) การขยายประโยค (Extension) การแตกหน่อทำนองย่อย (Fragmentation) การพลิกกลับทำนอง (Inversion) การตัดสัดส่วนของทำนอง (Compression) และใช้ลักษณะจังหวะที่เหมือนหรือคล้ายกัน (Rhythmic Motive) รูปร่างทำนอง (Melodic contour) มีลักษณะแบบสลับฟันปลา แบบโค้งลง แบบโค้งขึ้น แบบค่อย ๆ เคลื่อนลง แบบค่อย ๆ เคลื่อนขึ้น แบบเคลื่อนอยู่กับที่ ใช้เสียงประสานหรือโครงสร้างคอร์ดมาจากบันไดเสียงไมเนอร์แบบเนเจอรัล (Natural Minor) ในคีย์ A ไมเนอร์ และใช้โครงสร้างคอร์ดมาจากบันไดเสียง C เมเจอร์ (C Major Scale)  และ G เมเจอร์ (C Major Scale) และมีจุดพักหรือการจบวรรคตอน 2 แบบ คือ จบด้วย เพอร์เฟค คาเดนซ์ (Perfect Cadence) และดีเซฟทีฟ คาเดนซ์ (Deceptive Cadence)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการวิเคราะห์ดนตรี,ลายดนตรีพื้นบ้านอีสาน,วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์th
dc.subjectMusic Analysisen
dc.subjectThe lsan folk music Patternen
dc.subjectThe Karasin college of dramatic Artsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleAn Arrangement Process of Isan folk music Melodic patterns of Kalasin college of Dramatic Artsen
dc.titleกระบวนการสร้างสรรค์ลายดนตรีพื้นบ้านอีสานของวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60012080007.pdf20.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.