Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKamonchanok Kaewsrisaien
dc.contributorกมลชนก แก้วศรีใสth
dc.contributor.advisorSayam Chuangprakhonen
dc.contributor.advisorสยาม จวงประโคนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:40:18Z-
dc.date.available2021-06-08T14:40:18Z-
dc.date.issued24/12/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/912-
dc.descriptionMaster of Music (M.M.)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop a learning management plan for music courses in order to achieve the efficiency criteria of 80/80, 2) to compare the academic achievement of students between pretest and posttest, and 3) to study students' satisfaction with the TPACK MODEL-based learning management process. The sample of this research was nine grade 4 students at Ban Nong Du School, Thawat Buri District, Roi Et Province in the second semester, academic year 2019. The sample was selected based on a purposive sampling. The research instruments were 1) The learning management plan based on TPACK MODEL with an Index of Item – Objective Congruence (IOC) of 0.82, indicating that according to experts’ opinion, the developed learning management plan could be efficiently applied, 2) The four-choice multiple-choice achievement test contained 30 items with a difficulty index and discrimination index between 0.40- 0.59, which was suitable and testable,  3) The questionnaire on students' satisfaction with the developed music learning management process with  15 items with an Index of Item – Objective Congruence (IOC) of 0.76. Data were analyzed using statistics, including mean, percentage, efficiency index  (E1 / E2) and  effectiveness index ( E.I.). The results of this research indicated as follows: 1.The efficiency index (E1 / E2) of the developed TPACK MODEL-based learning management process for the sample was 85.18/84.07, which was higher than the set criteria of 80/80. 2.The effectiveness index (E.I.) of the developed TPACK MODEL-based learning management process for the sample was 0.70, indicating that the sample’s academic progress was accounted for 70%. 3. The sample’s satisfaction with the developed TPACK MODEL-based learning management process was at a highest level with a mean of 4.78. In conclusion, the developed TPACK MODEL-based learning management process for the sample of grade 4 students at Ban Nong Du School, Thawat Buri District, Roi Et Province was efficient and effective to be used in teaching in music courses.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาตามกรอบ TPACK MODEL กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองดู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 9 คน เลือกโดยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาตามกรอบ TPACK MODEL มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.83 แสดงว่าผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่าแผนการจัดการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพสามารถนำไปใช้ได้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่าย และค่าอำนาจจำแนก อยู่ระหว่าง 0.40-0.59 มีความเหมาะสมสามารถนำไปทดสอบได้ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี จำนวน 15 ข้อมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.76 และค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index : E.I.) ผลการวิจัยปรากฎดังต่อไปนี้ 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ตามกรอบ TPACK MODEL สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองดู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.18/84.07 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 2. ประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ตามกรอบ TPACK MODEL สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองดู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด มีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I) เท่ากับ 0.70 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็นร้อยละ 70 3. ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ตามกรอบ TPACK MODEL สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองดู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด มีความพึงพอใจเท่ากับ 4.39 และพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก สรุปกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ตามกรอบ TPACK MODEL สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองดู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลในการเรียนรู้รายวิชาดนตรีth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectกระบวนเรียนรู้รายวิชาดนตรีth
dc.subjectTPACK MODELth
dc.subjectประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectLearning management processen
dc.subjectMusic coursesen
dc.subjectTPACK MODEen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Music Learning Management Processes According to the TPACK MODEL for Grade 4 Students in Ban Nong Du School, Thawat Buri District, Roi Et Provinceen
dc.titleกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ตามกรอบ TPACK MODEL สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองดู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61012080007.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.