Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAdirake Kotaen
dc.contributorอดิเรก  โคตาth
dc.contributor.advisorSuradit Phaksuchonen
dc.contributor.advisorสุรดิษ ภาคสุชลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:16:29Z-
dc.date.available2021-09-05T09:16:29Z-
dc.date.issued31/10/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/975-
dc.descriptionMaster of Music (M.M.)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research on the identity of the Ranaad Ek ( leading Xylophone ) verses used for performing the song ‘Sathu Kaan’. This research used qualitative research methods. The objectives of this research were to 1) analyze the patterns of the Ranaad Ek (leading xylophone)verses used for performing the song ‘Sathu Kaan’ and 2) analyze the unique characteristics of the Ranaad Ek ( leading xylophone ) rhythms used in performing the song ‘Sathu Kaan’, in which the researcher conducted the study by gathering the data from academic documents, research papers, articles and many publications related to the research. Field research was conducted by interviewing Thai music experts, relevant persons, and by studying the song melodies, still images, recorded moving photos and music notes. After that the collected information was checked for accuracy, and then brought into the analysis process that was accordance with the objectives. The results of the research revealed that : 1) the song ‘Sathu Kaan’ had a melody length of 55 sentences, and in each sentence consisted of 4 xylophone ( Ranaad Ek) verses, totaling 220 verses. The research also found out that there were 10 similarities and differences between Khru Sanor Luang - Sunthorn and Khru Samran Kerdphol’s methods of performing the Ranaad Ek, and in one form of performing it could be divided into 5 methods, including 1. performing melodies with the most consecutive sounds, 2. performing melodies with consecutive sounds and inserting some strategies of playing, 3. performing melodies with consecutive sounds and mixing with crossing sounds, 4. performing melodies by taking 5 main tones in the sound ladders and, 5. performing melodies with consecutive sounds and changing the melodies at either the beginning or the end of the song, or at both the beginning and the end of the song. 2) The unique characteristics of performing the song ‘Sathu Kaan’ by the Ranaad Ek: 2.1 Khu Sanoh Luang Sun-thorn mostly used the verse number 1 in playing the song. The melodies were in straight lines arranging in a sequence that moved from the ‘low tone’ up to ‘high pitch’. And when analyzed using the 9 – verse principles ( Luang Pradit Phairoh ) according to Khu Prasit Thaworn, it found out that he played the verse called Tai Luad 19 times, the one called Tai Mai 13 times, Klon Dern or Mai Ta-kheb  8 times, Klon Roi- Lukso 7 times and Klon Yon Ta-kheb 1 time. 2.2 Khu Samran Kerdphol also  used the verse number 1, that was, in a straight line with the melody operations were arranged in a sequence that moved from the ‘low tone’ up to ‘high tone’. And when analyzed with the same method as the above, it found that he performed with Klon Tai Luad 21 times, Klon Roi-Lukso 7 times, Klon Tai Mai 6 times, Klon Sub 4 times, Klon Lawd Ta-khai 4 times, Klon Yon –Ta-kheb 4 times and Klon Son Ta-kheb 2 times.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ เรื่อง เอกลักษณ์ของกลอนระนาดเอกเพลงสาธุการ   เป็นงานวิจัยที่ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์รูปแบบของกลอนระนาดเอกเพลงสาธุการ 2)วิเคราะห์เอกลักษณ์ของกลอนระนาดเอกเพลงสาธุการ   ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ, เอกสารงานวิจัย, บทความ, สื่อ, สิ่งพิมพ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยการวิจัยภาคสนามโดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถด้านดนตรีไทย สัมภาษณ์จากบุคคลที่เกี่ยวข้อง การต่อทำนองเพลง บันทึกภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว บันทึกเสียง และโน้ตเพลง นำข้อมูลมาตรวจสอบความถูกต้อง แล้วนำมาเข้ากระบวนการวิเคราะห์ตามที่ได้กำหนดวัตถุประสงค์ไว้โดยใช้ข้อมูลต่างๆประกอบการศึกษา และอ้างอิงงานวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1) เพลงสาธุการมีความยาวของทำนองเพลงเป็นจำนวน 55 ประโยค ใน 1ประโยคประกอบด้วยกลอนระนาดเอก 4 กลอน รวมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 220 กลอน ซึ่งแนวทางในการบรรเลงระนาดเอก ของครูเสนาะ หลวงสุนทร ครูสำราญ เกิดผล มีความเหมือน และแตกต่างกันในรูปแบบลักษณะของกลอนระนาดเอก 10 รูปแบบ และใน 1 รูปแบบนั้นแบ่งออกเป็น 5 วิธีการ ได้แก่วิธีการที่ 1. ดำเนินทำนอง ด้วยเสียงที่เรียงติดต่อกันเป็นส่วนมาก, 2. ดำเนินทำนอง ด้วยเสียงที่เรียงติดต่อกันแทรกกลวิธีในการบรรเลงต่างๆเข้ามา, 3.ดำเนินทำนอง ด้วยเสียงที่เรียงติดต่อกันเป็นเข้ากับการบรรเลงในลักษณะข้ามเสียง, 4. ดำเนินทำนอง โดยยึดเอา 5 เสียงหลัก ในบันไดเสียง (ทางทั้ง 5), 5. ดำเนินทำนอง ด้วยเสียงที่เรียงติดต่อกัน มีการเปลี่ยนแปลงกลอนระนาดเอกในช่วงต้นหรือช่วงท้ายของทำนอง และสามารถเปลี่ยนแปลงได้ทั้ง 2 ในทำนองเพลงเดียวกันได้  2) เอกลักษณ์ในการบรรเลงระนาดเอกเพลงสาธุการ 2.1) ของครูเสนาะ หลวงสุนทร มักใช้กลอนหมายเลข 1 คือ มีลักษณะเป็นเส้นตรงในการดำเนินทำนองต่างๆ มีเสียงเรียงกันเป็นส่วนมาก ทำนองเคลื่อนที่จาก “เสียงต่ำ” ขึ้นไปหา “เสียงสูง” และการวิเคราะห์ตามหลักการกลอนทั้ง 9 (หลวงประดิษฐ์ ไพเราะ) ตามแนวทางครูประสิทธิ ถาวร พบว่ามีการบรรเลงกลอนไต่ลวด 19 ครั้ง, กลอนไต่ไม้ 13 ครั้ง, กลอนเดินหรือม้วนตะเข็บ 8 ครั้ง, กลอนร้อยลูกโซ่ 7 ครั้ง, กลอนย้อนตะเข็บ 1 ครั้ง 2.2) ครูสำราญ เกิดผล มักใช้กลอนหมายเลข 1 กล่าวคือ มีลักษณะเป็นเส้นตรง การดำเนินทำนองต่างๆ มีเสียงเรียงกันเป็นส่วนมาก โดยทำนองจะเคลื่อนที่จาก “เสียงต่ำ” ขึ้นไปหา “เสียงสูง” และการวิเคราะห์ตามหลักการกลอนทั้ง 9  ตามแนวทางครูประสิทธิ ถาวร พบว่ามีการบรรเลงกลอนไต่ลวด 21 ครั้ง, กลอนร้อยลูกโซ่ 7 ครั้ง, กลอนไต่ไม้ 6 ครั้ง, กลอนสับ 4 ครั้ง, กลอนลอดตาข่าย 4 ครั้ง, กลอนย้อนตะเข็บ 4 ครั้ง, กลอนย้อนตะเข็บ 2 ครั้ง, กลอนซ่อนตะเข็บ 2 ครั้งth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectรูปแบบกลอนระนาดเอกth
dc.subjectกลอนระนาดเอกเพลงสาธุการth
dc.subjectเอกลักษณ์กลอนระนาดเอกth
dc.subjectครูเสนาะ หลวงสุนทรth
dc.subjectครูสำราญ เกิดผลth
dc.subjectกลอนทั้ง 9th
dc.subjectThe form of Ranaad Ek versesen
dc.subjectRanaad Ek verses of the song ‘Sathu Kaan’en
dc.subjectThe unique characteristics of Ranaad Eken
dc.subjectKhru Sanoh Luang-Sunthornen
dc.subjectKhru Samran Kerdpholen
dc.subjectThe 9 – verse principlesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleMelodic Styles of the Ranard- Ek in the Sathukam piece from the Naphat Repevtoiveen
dc.titleเอกลักษณ์ของกลอนระนาดเอกเพลงสาธุการth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58012080014.pdf11.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.