Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/980
Title: Non-formal Education Models in Sub-district for Educational Quality Development
รูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
Authors: Pathamaporn Srinet
ปัทมาภรณ์ ศรีเนตร
Suwat Junsuwan
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: รูปแบบ
การจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบล
พัฒนาคุณภาพการศึกษา
Model
Non-formal Education in Sub-district
Quality Development
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this study were: 1) to study the elements of Non-formal Education  in Sub-district for Education Quality Development. 2) to create the Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. 3) to evaluation the forms of Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. This study was divided ion to 3 phases; Phase 1, studied the elements of Non-formal Education in Sub-district for Education Quality Development. Phase 2, create the Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. And phase 3, Performance evaluation of the Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development for propriety, feasibility and utility. Research instruments were Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. Tools used in data collection; 1) questionnaire 2) interview 3) evaluation form. The statistics used in the data analysis as average, standard deviation. The findings were as follows: 1. There were 3 elements of Non-formal Education in Sub-district for Education Quality Development; 1) Learning Management, there were 12 indicators. 2) Development of Teachers, there were 8 indicators. 3) Collaborating of Community, there were 8 indicators. were found that evaluated by 9 experts was found that suitabilitysection, was in the highest level. 2. The results of create in the Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development were found that there were 5 elements; 1) Principles and formsof Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. 2) The purposes of Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. 3) Processof Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. 4) Performance evaluationof Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development and 5) Success condition of Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development. 3. The results of Performance evaluation of Non-formal Education Model in Sub-district for Education Quality Development were found that evaluated by 9 experts was found propriety, was in high level, feasibility and utility was in the highest level.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบในการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3) เพื่อประเมินรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา วิธีดำเนินการวิจัย ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบของการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในการนำรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน คือ รูปแบบการการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบของการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มี 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย 12 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ด้านการพัฒนาครู ประกอบไปด้วย 8 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 3 ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบไปด้วย 8 ตัวบ่งชี้ ผลประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. ผลการสร้างรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา พบว่า รูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีองค์ประกอบของรูปแบบ 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3) วิธีดำเนินการของรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4) การประเมินผลการดำเนินการของรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ 5) เงื่อนไขความสำเร็จของรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ผลการประเมินรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบระดับตำบลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Doctor of Education (Ed.D.)
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/980
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010560005.pdf4.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.