Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/983
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wikanda Chairat | en |
dc.contributor | วิกานดา ชัยรัตน์ | th |
dc.contributor.advisor | Rungson Chomeya | en |
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ โฉมยา | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T09:26:27Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T09:26:27Z | - |
dc.date.issued | 15/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/983 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research were 1) aimed to explore the factors involved in Cognitive Load Status of undergraduate students. 2) to develop a training program to decrease students’ Cognitive Load Status. 3) to study the effect of using the training program to decrease Cognitive Load Status. The study is divided into two group consisted of 1,522 undergraduates enrolled in the bachelor’s degree program by Multi-Stage Random Sampling method, Confirmatory Factor Analysis and 30 undergraduate students at Nakhon Ratchasima Rajabhat University by Cluster Random Sampling method. The datas was analyzed by percentage, mean, standard deviation, Multivariate Analysis of variance : Manova. Research instruments consisted of 1) a training program to decrease cognitive load status, and 2) an assessment of the students’ Cognitive load status, which had 44 questions and a reliability of 0.92. Statistics used to analyze the data were Mean, Standard Deviation (SD), Confirmatory Factor Analysis and One way Repeated Measures MANOVA. The findings were as follows: 1. Cognitive Load Status consisted of 3 types. When ranked according to the measurement of each types, which includes extraneous load, which weighed = .762, intrinsic load, which weighed = .742, and germane load, which weighed = .674. The structural component model has structural precision and the index is in harmony with existing empirical data. (X2 = 1.054, df = 1, p-value = .305, RMSEA = .009, CFI = 1.00, TLI = 1.000, SRMR = .027 2. The training program to decrease the Cognitive Load Status of undergraduate students was 14 activities, The level of training program was in the highest level. 3. The students who participated in the training program had lower levels of Cognitive Load Status after the experiment when compared to before the experiment, at the statistical significance of .01. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสภาวะของภาระทางปัญญา 2) สร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อลดสภาวะของภาระทางปัญญา 3) ศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อลดภาวะของภาระทางปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 นิสิต นักศึกษาที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 1,522 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์องค์กอบเชิงยืนยันของภาระทางปัญญา และจำนวน 30 คน สำหรับการฝึกอบรมที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อลดสภาวะของภาระทางปัญญา 2) แบบวัดภาระทางปัญญาจำนวน 44 ข้อ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.92 และ แบบสอบถามเพื่อประเมินผลการใช้โปรแกรมการฝึกอบรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-Way Repeated Measure MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของ Cognitive load ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ เมื่อเรียงลำดับตามค่าน้ำหนักขององค์ประกอบ ได้แก่ ด้านภาระภายนอก มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ = .762 ด้านภาระภายใน มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ = .742 ด้านภาระอัตโนมัติ มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ = .674 โดยโมเดลโครงสร้างเชิงองค์ประกอบมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและดัชนีมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 = 1.054, df = 1, p-value = .305, RMSEA = .009, CFI = 1.00, TLI = 1.000, SRMR = 0.27) 2. โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อลดภาระทางปัญญามีจำนวน 14 กิจกรรม ผลการประเมินของโปรแกรมการฝึกอบรมอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 3. ตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมการฝึกอบรม มีสภาวะของภาระทางปัญญาลดลงก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การศึกษาและพัฒนาโปรแกรม | th |
dc.subject | ลดสภาวะของภาระทางปัญญา | th |
dc.subject | The Study and Development Program | en |
dc.subject | Decrease Cognitive Load Status | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Study and Development Program to Decrease Cognitive Load Status | en |
dc.title | การศึกษาและพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อลดสภาวะของภาระทางปัญญา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010564007.pdf | 5.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.